แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวชาติพันธุ์บรูอย่างยั่งยืน

Main Article Content

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ต้องการศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวชาติพันธุ์บรู โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (mixed methods research) สำรวจค้นคว้าเอกสารและงานวิจัย ลงพื้นที่สนามสังเกตแบบมีส่วนร่วม สัมภาษณ์เชิงลึก สนทนากลุ่ม และเก็บข้อมูลโดยแบบสอบถาม นำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยแนวคิดทุนทางสังคมวัฒนธรรม และการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มชาติพันธุ์บรูเป็นกลุ่มชาติพันธุ์มีทุนทางสังคมวัฒนธรรมที่มีศักยภาพเชิงการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ที่จำต้องสร้างระบบการจัดการแบบมีส่วนร่วม สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักท่องเที่ยวกับเจ้าของวัฒนธรรม ให้นักท่องเที่ยวเห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์และคุณค่าทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ เกิดประโยชน์อย่างสร้างสรรค์จากนโยบายรัฐที่พัฒนาเศรษฐกิจผ่านการท่องเที่ยว นอกจากนี้  ในบริบทการท่องเที่ยว กลุ่มชาติพันธุ์สามารถปรับตัวสร้างพื้นที่ทางสังคมวัฒนธรรมนำเสนอตัวตนชาติพันธุ์ในพื้นที่สาธารณะบนฐานทรัพยากรประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมอย่างภูมิใจ ธำรงชาติพันธุ์ สร้างสังคมพหุวัฒนธรรมและลดอคติชาติพันธุ์

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประเทศไทย

References

กรมศิลปากร. (2564). เอกสารเสด็จตรวจราชการเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ร.ศ. 119-131 (พ.ศ. 2443-2455). กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์.

กัญญารัตน์ แก้วกมล, นิติคุณ ท้าวทอง, สุปวีณ์ รสรื่น, อนุศิษฎ์ เพชรเชนทร์, อมรรัตน์ รัตนสุภา, และ จันทรัศม์ ภูติอริยวัฒน์. (2564). การใช้ทุนทางวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 11(1), 75-91.

เกนี่ เจอร์รี่. (2528). การศึกษาระบบเสียงภาษากูย บรู และโซ่ในเชิงภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2558). ชุมชนชาติพันธุ์ “บรู” ร่วมสมัยบนพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว: วิถีชีวิตและการปรับตัวทางวัฒนธรรม [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีนิพนธ์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. Thammasat University Digital Collections.

จิตร ภูมิศักดิ์. (2556). ประวัติความเป็นมาของคำสยาม ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ. ภาพพิมพ์.

จิตรกร โพธิ์งาม. (2536). โลกทัศน์ของชาวบรู บ้านเวินบึก อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ชนาธิป บุณยเกตุ. (2541). การเรียนรู้และการขัดเกลาชนชาติพันธุ์บรู : มุมมองทางสังคม-วัฒนธรรมและบทบาทหญิงชาย. สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

ชนิดา เสงี่ยมไพศาลสุข. (2550). ปิแยร์ บูร์ดิเยอ : เศรษฐกิจของทรัพย์สินเชิงสัญลักษณ์. คบไฟ.

ชวดี โกศล. (2561). การบริหารจัดการทุนทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในเขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ, 6(2), 64-73.

ชาร์ลส์ เอฟ คายส์. (2552). แนวคิดท้องถิ่นภาคอีสานนิยมในประเทศไทย (รัตนา โตสกุล, ผู้แปล). ศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง. (ต้นฉบับพิมพ์ปี 1967).

ดารณี พลอยจั่น. (2559). ทุนทางวัฒนธรรมของชาวเขาเผ่าม้งกับกลยุทธ์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 1(7), 6-17.

ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2546). การเมืองสองฝั่งโขง : งานค้นคว้าวิจัยระดับปริญญาเอกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง การรวมกลุ่มทางการเมืองของ ส.ส. อีสาน พ.ศ. 2476-2494. มติชน.

ธงชัย วินิจจะกูล (2546). ชนพวกอื่นในแดนตน. ฟ้าเดียวกัน, 1(1), 90-94.

ธีระพันธ์ เหลืองทองคำ และ สี พึ่งป่า. (2523). พจนานุกรมบรู-ไทย-อังกฤษ (A Bruu-Thai-English dictionary). โครงการวิจัยภาษาไทยและภาษาพื้นเมืองถิ่นต่าง ๆ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิติ ภวัครพันธุ์. (2558). ชวนถก ชาติและชาติพันธุ์. ศยามปัญญา.

บงกช เจนชัยภูมิ, กีรติพร จูตะวิริยะ, และ จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2560). เรื่องเล่าจากวังเวียง : ทุนทางสังคมและวัฒนธรรมในพื้นที่ท่องเที่ยว. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันติพล, 3(1), 150-159.

ปีเตอร์ เอ. แจ๊คสัน. (2566). เทวา มนตรา คาถา เกจิ : ไสยศาสตร์ยุคใหม่กับทุน(ไทย)นิยม (วิราวรรณ นฤปิติ, ผู้แปล). มติชน.

พนัส ดอกบัว. (2553). เครือญาติข้ามพรมแดนรัฐชาติของกลุ่มชาติพันธุ์บรู บ้านท่าล้ง อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี]. Ubon Ratchathani University Portal site for E-Thesis & E-Research.

พนิตสุภา ธรรมประมวล และ กาสัก เต๊ะขันหมาก. (2566). การพัฒนาการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์บนฐานทุนทางวัฒนธรรมสู่เศรษฐกิจชุมชนของชมรมโฮมสเตย์เพื่อนเกษตร อําเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 40(1), 65-83.

พัฒนา กิติอาษา. (2555). สู่วิถีอีสานใหม่. ใน อภิราดี จันทร์แสง (บรรณาธิการ), ประวัติศาสตร์นอกขนบ (น. 75-171). อินทนิล.

พิสิฏฐ์ บุญไชย. (2545). ชาวบรูจังหวัดมุกดาหาร. วารสารรักษ์ศิลป์, 2(2), 5-17.

พุฒิภัณฑ์ พูลลาภ. (2555). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์บรู กรณีศึกษา ตำบลกกตูม อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]. STOUIR : Sukhothai Thammathirat Open University Intellectual Repository.

ไพฑูรย์ โพธิสว่าง. (2554). การทำวิจัยทางสังคมหลักการปฏิบัติวิธีปฏิบัติและสถิติ. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ภัททิยา ยิมเรวัต. (2525). ระเปิ๊บ : งานบุญของชาวบรู. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 2(2), 85-93.

ยุกติ มุกดาวิจิตร. (2548). อ่าน ‘วัฒนธรรมชุมชน’ วาทศิลป์และการเมืองของชาติพันธุ์นิพนธ์แนววัฒนธรรมชุมชน. ฟ้าเดียวกัน.

ยุพา อุทามนตรี. (2539). ประเพณี พิธีกรรมของชาวบรูบ้านเวินบึก ตำบลโขงเจียม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต].มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

รุจิภาส บุญสําเร็จ และ สันติธร ภูริภักดี. (2564). ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์อาข่าสําหรับการ กําหนด กลยุทธ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 21(2), 7-18.

วิธวิทย์ ประสานศักดิ์ทวี, จารุวรรณ ขำเพชร, และ กัมปนาท บริบูรณ์. (2560). การจัดการศึกษาตลอดชีวิตโดยใช้ทุนทางวัฒนธรรมของชนเผ่าญัฮกุร. วารสาร Veridian E-Journal, Silpakorn University ฯ สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10(2), 110-123.

ศิริจิต สุนันต๊ะ. (2556). สถานการณ์โต้แย้งเรื่องพหุวัฒนธรรมในประเทศไทย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 32(1), 5-30.

สมใจ ศรีหล้า. (2550). กลุ่มชาติพันธุ์ข่า-บรู : การสร้างและการปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์. วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 3(1), 73-113.

สมรักษ์ ชัยสิงห์กานานนท์. (2559). ชาติพันธุ์ข้ามรัฐ วิชาการข้ามพรมแดน. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 9(1), 15–48.

สำนักงานจังหวัดมุกดาหาร. (2565). แผนพัฒนาจังหวัดมุกดาหาร (พ.ศ.2561-2565) ฉบับทบทวน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565. สำนักงานจังหวัดมุกดาหาร.

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครพนม. (2564). พ่อเมืองนครพนมเชิญชวนนักท่องเที่ยวชมวิถีชีวิต 8 ชนเผ่า 2 เชื้อชาติ เสน่ห์ชุมชนจังหวัดนครพนม. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครพนม. https://nakhonphanom.cdd.go.th/2021/02/27

สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580. สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สุดแดน วิสุทธิลักษณ์. (2556). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism). องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน).

สุรจิตต์ จันทรสาขา. (ม.ป.ป.). รวมเผ่าไทยมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2567, จาก https://www.finearts.go.th/storage/contents/2020/08/file/QXfuThzCsh0PXvMeAUvL0ZuksQsW6sbReGTZZB05.pdf

สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และ สุจริตลักษณ์ ดีผดุง. (2547). แผนที่ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในประเทศไทย. สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

องค์การบริหารส่วนจังหวัดมุกดาหาร. (2565). ฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นและปราชญ์ชาวบ้านจังหวัดมุกดาหาร. องค์การบริหารส่วนจังหวัดมุกดาหาร, กองศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม.

เอกวิทย์ จิโนวัฒน์. (2526). การศึกษาเปรียบเทียบการสร้างคำในภาษากุย บรู และโซ่ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository.

Bourdieu, P. (2014). The social structures of the economy. Cambridge, Polity.

Condominas, G. (1990). From Lawa to Mon, from Saa’ to Thai: Historical and anthropological aspects of Southeast Asian social spaces (S. Anderson, M. Magannon, & G. Wijeyewardene, Trans. & G. Wijeyewardene, Ed.). Department of Anthropology, Research School of Pacific Studies, Australian National University.

Hall, S. (1997). Representation: Cultural representations and signifying practices. Sage.

Keyes, C. F. (1967). Isan: Regionalism in Northeastern Thailand (Cornell-Thailand Project, Interim Reports Series, No. 10). Southeast Asia Program, Department of Asian Studies, Cornell University.

Keyes, C. F. (1966). Peasant and nation: A Thai-Lao village in a Thai state [Unpublished doctoral dissertation]. Cornell University.

Keyes, C. F. (1975). Kin-Groups in a Thai-Lao community in Chang and persistence in Thai society. Cornell University press.

Leach, E. (1964). Political Systems of Highland Burma. The Athlone press.

Putnam, R. D. (1993). Making democracy work: Civic traditions in modern Italy. Princeton University Press.

Seidenfaden, E. (1952). The Kui people of Cambodia and Siam. The Journal of the Siam Society (JSS), 39(2), 144-180.

Turnbull, S. M., Vanholsbeeck, F., Locke, K., & O’Neale, D. R. J. (2019). Bourdieu, networks, and movements: Using the concepts of habitus, field, and capital to understand a network analysis of gender differences in undergraduate physics. PLoS ONE, 14(9), 1-28.

Upton, D. (1996). Ethnicity, authenticity, and invented traditions. Historical Archaeology, 30(2), 1-7.

Sustainable tourism. (2024, November 17). In Wikipedia. https://en.wikipedia.org/wiki/Sustainable_tourism