การศึกษาความหมาย และประวัติศาสตร์ของ ‘แพ็กจาช็อลฮวา อุนรยง มุนโฮ’ เครื่องปั้นกระเบื้องขาวสีใต้เคลือบเหล็กลายมังกรเมฆแห่งเกาหลี
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษาประวัติศาสตร์ ความหมายลักษณะของลวดลาย และความสำคัญของการใช้ “แพ็กจา ช็อลฮวาอุน-รยง มุนโฮ” หรือเรียกย่อเป็น ‘ช็อลฮวา-ยงจุน’ หรือเครื่องปั้นกระเบื้องขาวสีใต้เคลือบเหล็กลายมังกรเมฆในราชวงศ์โชซ็อน โดยศึกษาด้วยวิธีประติมานวิทยาเพื่อหาวัตถุประสงค์ของการใช้ และการบริโภคของศิลปวัตถุชนิดนี้ โดยพิจารณาเปรียบเทียบจากภาพวาดและบันทึก หรือเอกสารสำคัญต่าง ๆ สมัยโชซ็อน ผลการศึกษาพบว่า ช็อลฮวา-ยงจุนได้ถูกผลิตขึ้นเป็นช่วงเวลาสั้น ๆ คือ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 ภาชนะนี้มีความสำคัญต่อวัฒนธรรมเครื่องปั้นเกาหลี เนื่องจากถูกใช้เป็นภาชนะประกอบพิธีและงานสำคัญต่าง ๆ ของราชวงศ์โชซ็อน เช่น กิล-รเย หรือฮยุง-รเยของราชวงศ์ และที่มาของการผลิต สะท้อนสภาวะของสังคมและวัฒนธรรมในช่วงเวลานั้นที่ประเทศตกอยู่ในภาวะไร้เสถียรภาพทางความมั่นคง เนื่องจากผ่านภาวะสงครามอิมจินกับญี่ปุ่น เหตุนี้ได้กระทบต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะการผลิตเครื่องปั้นสำหรับใช้ประกอบพิธีสำคัญของราชสำนัก แม้ระยะเวลาการผลิตจะสั้น แต่ช็อลฮวา-ยงจุนนี้บอกเล่าหลากหลายเรื่องราวของสมัยโชซ็อน และเผยอารมณ์สุนทรียะของยุคสมัยอีกด้วย
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
Asakawa Takumi아사카와 타쿠미. (1996). 조선의 소반 ; 조선도자명고 (심우성, Trans.). 학고재.
Bang Byung-sun방병선. (1998). 雲龍文 분석을 통해서 본 조선 후기 백자의 편년 체제. 미술사학연구(구고고미술), 12, 45-78. https://www.dbpia.co.kr/journal/articleDetail?nodeId=NODE00986384
Chang Ki-hoon 장기훈. (1998). 朝鮮時代 白磁龍樽의 樣式變遷考. 미술사연구, 12, 85-122.
Chang Ki-hoon장기훈. (1997). 朝鮮時代 17世紀 白磁의 硏究 : 廣州 分院窯址 出土品을 中心으로 [석사학위]. 홍익대학교.
Choe Jong-seong 최종성. (2007). 기우제등록과 기후의례: 기우제, 기청제, 기설제. 서울대학교출판부.
Choe Yun-jeong崔允貞. (2017). 朝鮮時代 民窯 鐵畵雲龍文壺 性格 考察. Misulsa Yŏn'Gu, (33), 129-165. https://www.dbpia.co.kr/journal/articleDetail?nodeId=NODE07283429
Choi Kun 최건. (2015). 청화백자에서 龍樽이 갖는 의미 –특히 17, 18세기를 중심으로. 東洋美術史學, 3, 89-131. http://db.koreascholar.com/Article/Detail/318332
Dankook University Seokjuseon Memorial Museum. (1987). 정비•복원을 위한 경희궁지 제2차 발굴조사보고서. 석주선기념박물관.
Gyeonggi Ceramic Museum경기도자박물관. (2008). 광주 신대리 18호 백자가마터. 경기도자박물관.
Gyeonggi Ceramic Museum경기도자박물관. (2009). 가평 하판리 백자가마터. 경기도자박물관.
Gyeonggi Ceramic Museum경기도자박물관. (2013). 번천리 8호 선동리 2호 요지 일원 : 사적 제 314호 광주조선백자요지 발굴조사보고서. 경기도자박물관.
Gyeonggi Ceramic Museum경기도자박물관. (2019). 광주조선백자요지(사적 제314호) 4차 발굴조사보고서. 경기도자박물관.
Gyeonggi Ceramic Museum경기도자박물관. (2020). 광주조선백자요지 6차 (사적 제314호) 발굴조사보고서. 경기도자박물관.
Gyeonggi Cultural Foundation. 경기문화재연구원. (2012). 南漢山城 人和館址 : 2차 試•發掘調査 報告書. 경기문화재연구원.
Gyeonggi Cultural Foundation경기문화재연구원. (2014). 南漢山城 漢興寺址 : 發掘調査 報告書. 경기문화재연구원.
Han Kyeong-ran한경란. (2014). 조선시대 궁중 주방의 인적•물리적 공간 연구 (석사학위). 숙명여자대학교.
Horim Museum 호림박물관. (2003). (湖林博物館 所藏) 朝鮮白磁名品展 = Masterpieces of Choson white porcelain. 호림박물관.
Kim Kyu-rim김규림. (2017). 朝鮮 17-18世紀 백자대호(白瓷大壺) 硏究. 이화여자대학교 대학원.
Koo Hye-in 구혜인. (2017). 조선시대 주준 (酒樽)용 백자용준(白磁龍樽)의 문양과 왕실 의례와의 관계. 미술사학보, 0(48), 7-34.
Koo Hye-in 구혜인. (2019). 조선시대 왕실 제기(祭器) 연구. 이화여자대학교 대학원.
Koo Hye-in 구혜인. (2023). 조선후기 왕실 국혼(國婚)용 백자용준의 조형와 성격 영국박물관 소장 ‘傳之于金氏子孫’ 명 백자운룡문호를 중심으로. 미술사학연구 (구 고고미술), (319), 5-43. https://www.dbpia.co.kr/journal/articleDetail?nodeId=NODE11550794
Korean Cultural Heritage Institute 한국문화유산연구원. (2012). 龍仁 旺山里 窯址. 한국문화유산연구원.
Korean Cultural Heritage Institute 한국문화유산연구원. (2017). 廣州 新垈里 21•31號 窯址 : 광주 신대리 산 5-7번지 일원 산업유 통형 지구단위계획부지 내 문화유적 발굴조사 보고서. 한국문화유산연구원.
Lee Goon-moo이군무. (2018). 18세기 후반 백자청화운룡문대호 연구 (석사학위).
Lee Goon-moo이군무. (2019). 조선 18세기 백자청화운룡문대호 연구 : 문양의 특징과 용도 구분을 중심으로. 미술사와 문화유산, 12(8). https://www.dbpia.co.kr/journal/articleDetail?nodeId=NODE09316661
Lee Seul-chan이슬찬. (2017). 조선 중기 관요(官窯) 운영체제 연구 (석사학위).
Oh Young-in 오영인. (2022). 조선 초기 용준(龍樽), 분청사기 상감 운룡문 호의 특징과 성격. 文化財, 55(1), 85-110. https://10.22755/kjchs.2022.55.1.85
Seo Yu-ku 서유구. (2017). 임원경제지 섬용지 : 건축・도구・일용품 백과사전 1-3 (저임원경제연구소, trans.). 풍석문화재단.
Shin Seung-in신승인. (2012). 朝鮮後期 王室 宴享用 白磁 花樽 硏究. 이화여자대학교 대학원.
Song In-hee 송인희. (2008). 朝鮮 17~18世紀 鐵畵白磁 硏究. 이화여자대학교 대학원.
Song In-hee 송인희. (2010). 조선 17-18세기 철화백자의 특징과 성격–가마터 출토품을 중심으로. 미술사학연구, 77-110. https://10.31065/ahak.267.267.201009.003
Song In-hee 송인희. (2014). 조선 17세기 전반의 ‘假畵龍樽’. Misulsa Nondan, (38), 67-91. https://10.14380/AHF.2014.38.67
Yoon Hyo-jeong윤효정. (2002). 朝鮮 15, 16世紀 靑畵白磁 硏究. 이화여자대학교 대학원.