ลัทธิวอกแวก : ประสบการณ์ภาพยนตร์กับภาวะสมัยใหม่ในมิติผัสสะในวรรณกรรมไทย ทศวรรษ 2470-2490

Main Article Content

ชัยรัตน์ พลมุข

บทคัดย่อ

การเข้ามาของภาพยนตร์ในสยามในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีบทบาทสำคัญในการก่อรูปปริมณฑลสาธารณะและพื้นที่ทางผัสสะแบบใหม่ ในบทความนี้ ผู้วิจัยสนใจช่วงเวลาตั้งแต่ทศวรรษ 2470 ถึง 2490 ซึ่งเป็นช่วงที่ภาพยนตร์ได้รับความนิยมแพร่หลายจนกระทั่งนักเขียนได้นำประสบการณ์ภาพยนตร์มาสร้างเป็นแก่นเรื่องในตัวบทวรรณกรรมเพื่อขบคิดเกี่ยวกับภาวะสมัยใหม่ในมิติผัสสะและอารมณ์ความรู้สึก การวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบสหสื่อระหว่างภาพยนตร์กับวรรณกรรมในตัวบทดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าสำนึกของความเป็นสมัยใหม่เกิดขึ้นในระดับประสบการณ์ทางร่างกายเมื่อผู้ชมเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีสมัยใหม่ พร้อม ๆ กับการตระหนักในความเปลี่ยนแปลงของการรับรู้ทางผัสสะในชีวิตประจำวันอันเป็นผลมาจากกลไกทางเทคโนโลยีดังกล่าว ในตัวบทบางเรื่อง ความตระหนักรู้ดังกล่าวนำไปสู่การสร้างปมขัดแย้งระหว่างความจริงกับความลวง ระหว่างอารมณ์กับเหตุผล ระหว่างมวลชนกับปัจเจกบุคคล ซึ่งได้กลายเป็นประเด็นสำคัญในการถ่ายทอดภาวะอัตบุคคลแบบสมัยใหม่ที่ซับซ้อน

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
พลมุข ช. . (2024). ลัทธิวอกแวก : ประสบการณ์ภาพยนตร์กับภาวะสมัยใหม่ในมิติผัสสะในวรรณกรรมไทย ทศวรรษ 2470-2490. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 24(1), 172–202. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/liberalarts/article/view/273715
บท
บทความวิจัย

References

ใกล้รุ่ง อามระดิษ .(2533).ร้อยแก้วแนวขบขับของไทยตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ถึงรัชกาลที่ 7. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไกรวุฒิ จุลพงศธร. (2564). สุนทรียสหสื่อ (The Intermedial Aesthetics). ใน นัทธนัย ประสานนาม (บรรณาธิการ), สุนทรียสหสื่อ. (น. xiv-xxxiii). ศยาม.

จำเริญลักษณ์ ธนะวังน้อย. (2544). ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ไทย ตั้งแต่แรกเริ่มจนสิ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

โดม สุขวงศ์. (2533). ประวัติภาพยนตร์ไทย. องค์การค้าของคุรุสภา.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2534). แฟชั่น. ใน ชุมนุมพระนิพนธ์สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (น. 177-180). บรรณกิจ.

นัทธนัย ประสานนาม. (2564). เขียนด้วยเงา เล่าด้วยแสง: วรรณกรรมกับการดัดแปลงศึกษา. แสงดาว.

นายตำรา ณ เมืองใต้. (2544). หัสนิยายชุด “นายเลากะงังฆ์” (พิมพ์ครั้งที่ 2). ดอกหญ้า.

นายหนหวย. (2555). ว่าด้วยหนังๆ ในเมืองบางกอก. หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน).

ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. https://dictionary.orst.go.th

วรรณา สวัสดิ์ศรี และ สุชาติ สวัสดิ์ศรี. (2553). เพื่อนพ้องแห่งวันวาร เรื่องสั้น ‘สุภาพบุรุษ’. ช่างวรรณกรรม.

วันชนะ ทองคำเภา. (2564). ลำนำจากปรโลก: เสียงผี สื่ออิเล็กทรอนิกส์และภาวะสมัยใหม่ในเรื่องสั้นผีไทย (ทศวรรษ 2480-2510). ใน นัทธนัย ประสานนาม (บรรณาธิการ), สุนทรียสหสื่อ (น. 375-428). ศยาม.

วันชนะ ทองคำเภา. (2566). อักขระกัมปนาทหวาดไหว: จินตนาการเรื่องเสียงรบกวนในเรื่องสั้นไทย ทศวรรษ 2460-2470. วารสารศิลปศาสตร์, 23(2), 188-221.

สรณัฐ ไตลังคะ. (2557). คตินิยมสมัยใหม่กับเพศวิถี: กรณีศึกษาเฟื่องนครของ ’รงค์ วงษ์สวรรค์กับเพื่อนหนุ่ม. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 10(1), 9-49.

สัตย์ธรรม. (2474). ความทรงจำของมนุษย์. ไทยเขษม, 8(10), 1199-1205.

สาคร. (2476). แม่ดารา. ไทยเขษม, 10(8), 569-584.

หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน). (2555). คำนำ. ใน นายหนหวย. ว่าด้วยหนังๆ ในเมืองบางกอก. (น. 3-7). หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน).

อาทิตย์ เจียมรัตตัญญู. (2560). จาก “โซ๊ด” สู่ “สะวิง”: อัสดงคตนิยมกับการเมืองของการแปลทางวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่. รัฐศาสตร์สาร, 38(2), 73-130.

อาทิตย์ เจียมรัตตัญญู. (2562). ผัสสศึกษาและผัสสวิจารณ์: พัฒนาการ แนวคิดทฤษฎี และวิธีวิทยา. ใน สุรเดช โชติอุดมพันธ์ (บรรณาธิการ), นววิถี: วิธีวิทยาร่วมสมัยในการศึกษาวรรณกรรม (น. 235-321). สยามปริทัศน์.

อาทิตย์ เจียมรัตตัญญู. (2564). สุภาพบุรุษสะวิง: วรรณกรรมชีวิตของวิตต์ สุทธเสถียร. ใน วิตต์ สุทธเสถียร, สาวไห้ (พิมพ์ครั้งที่ 2, น. 187-242). แซลมอน.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล. (2561). 120 ปี ธุรกิจภาพยนตร์ไทยในมิติประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและสังคมไทย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

Adorno, T. W. (2004). The culture industry: selected essays on mass culture. Routledge.

Barker, J. M. (2009). The tactile eye: Touch and the cinematic experience. University of California Press.

Barmé, S. (2002). Woman, man, Bangkok: Love, sex, and popular culture in Thailand. Rowman & Littlefield.

Benjamin, W. (2008). The work of art in the age of its technological reproducibility, and other writings on media. Belknap Press of Harvard University Press.

Brown, V. (2015). Cool shades: The history and meaning of sunglasses. Bloomsbury Academic.

Carroll, N. (2014). Humour: A very short introduction. Oxford University Press.

Chakrabarty, D. (2000). Provincializing Europe: Postcolonial thought and historical difference. Princeton University Press.

Chunsaengchan, P. (2023). Poeticizing cinematic experiences: Traditional Thai poetry in the early film magazine Phappayon Siam. Journal of Modern Periodical Studies, 14(2), 230-251.

Draaisma, D. (2000). Metaphors of memory: A history of ideas about the mind. Cambridge University Press.

Dyer, R. (1998). Stars. BFI Publishing.

Gunning, T. (2006). The cinema of attraction[s]: Early film, its spectators, and the avant-garde. In W. Strauven (Ed.), The cinema of attractions reloaded (pp. 381-388). Amsterdam University Press.

Hansen, M. (2009). The mass production of the senses: Classical cinema as vernacular Modernism. In P. L. Caughie (Ed.), Disciplining modernism (pp. 242-258). Palgrave Macmillan.

Ingawanij, A. (2012). Figures of plebeian modernity. Journal of sociology and anthropology, 31(1), 13-31.

Hansen, M. (2012). Cinema and experience: Siegfried Kracauer, Walter Benjamin, and Theodor W. Adorno. University of California Press.

Kracauer, S. (1995). The mass ornament: Weimar essays. Harvard University Press.

Pali Text Society. (1921-1925). Pali-English dictionary. The Pali Text Society.

Polmuk, C. (2024). An urban pastoral in Laos: translating George Sand in (post)colonial Vientiane. In C. Phrae & V. L. Rafael (Eds.), Of peninsulas and archipelagos: the landscape of translation in Southeast Asia (pp. 145-164). Routledge.

Promkhuntong, W. (2023). Film authorship in contemporary transmedia culture: The paratextual lives of Asian auteurs. Amsterdam University Press.

Rajewsky, I. (2005). Intermediality, intertextuality, and remediation: A literary perspective on intermediality. Intermédialités, 1(6), 43-64.

Smyth, D. (2003). Ban Maha Phai and Phrae Dam: From silent movies to novel?. Journal of Siam society, 91(1), 223-239.

Stott, A. M. C. (2004). Comedy. Routledge.

Suwannakij, S. (2013). The King and eye: visual formation and technology of the Siamese monarchy [Doctoral dissertation]. University of Copenhagen.

Zupančič, A. (2008). The odd one in: On comedy. MIT Press.