ไอดอลทางการเมืองของคนรุ่นใหม่

Main Article Content

มาลินี คุ้มสุภา

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ต้องการศึกษาคนรุ่นใหม่ที่ตื่นตัวทางการเมืองภายใต้โครงสร้างความรู้สึกใหม่เพื่อเข้าใจว่าพวกเขามีความต้องการต้นแบบทางการเมือง หรือ “ไอดอลทางการเมือง” ที่มีคุณลักษณะอย่างไร ด้วยระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative methodology) จากกลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลในพื้นที่จังหวัดหนึ่งในเขตภาคเหนือตอนบน จำนวน 61 คน ผลการวิจัยพบว่า ต้นแบบทางการเมืองหรือไอดอลทางการเมืองที่คนรุ่นใหม่ต้องการ ประกอบด้วยคุณสมบัติเหล่านี้คือ 1) เป็นผู้นำและสามารถสร้างความหวังและพลังบวกในทางการเมือง 2) เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (change agent) และ 3) เข้าใจปัญหาและมีข้อเสนอที่เป็นรูปธรรม นอกจากนี้จะต้องมีความรู้ความสามารถ รับฟังเสียงประชาชน รับฟังความเห็นที่แตกต่างและสามารถส่งอิทธิพลทางความคิดในวงกว้าง

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
คุ้มสุภา ม. . (2023). ไอดอลทางการเมืองของคนรุ่นใหม่. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23(3), 377–406. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/liberalarts/article/view/266118
บท
บทความวิจัย

References

เกษียร เตชะพีระ. (2564). การเมืองวัฒนธรรม วิเคราะห์ประเมินม็อบราษฎรเยาวรุ่น. มติชนสุดสัปดาห์. https://www.matichonweekly.com/column/article_355246

กนกรัตน์ เลิศชูสกุล. (2564). สงครามเย็น(ใน) ระหว่าง โบว์ขาว. มติชน.

คณะราษฎร 2563: แฟนคลับศิลปินเกาหลีผนึกกำลังขับเคลื่อนการประท้วงของเยาวชนไทย. (5 พฤศจิกายน 2563). BBC News ไทย. https://www.bbc.com/thai/international-54794129

จงจิตต์ ฤทธิรงค์, เฉลิมพล แจ่มจันทร์, พิมลพรรณ นิตย์นรา, และ ณัฐณิชา ลอยฟ้า. (2565). คนวัยแรงงานคาดหวังและเตรียมตัวอย่างไรเพื่อชีวิตในวัยสูงอายุ. มหาวิทยาลัยมหิดล, สถาบันวิจัยประชากรและสังคม.

จันจิรา สมบัติพูนศิริ. (2558). หัวร่อต่ออำนาจ อารมณ์ขันและการประท้วงด้วยสันติวิธี. มติชน.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร.(2563). สังคมศาสตร์ทางเลือก. วิภาษา.

ณัฐพล ใจจริง. (2565). ราษฎรปฏิวัติ. มติชน.

เทวฤทธิ์ มณีฉาย. (2564). ชาวทวิตเตอร์เริ่มเขย่าการเมืองได้อย่างไร? พลัง “ติ่งเกาหลี” น่ากลัวแค่ไหน?. ประชาไท. https://prachatai.com/journal/2021/01/91178

ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ. (2565). คิดไปข้างหน้า. มูลนิธิคณะก้าวหน้า.

นพพล อาชามาส. (2559). มาตรา 112 การเมืองของความกลัวและการสร้างความหวาดหวั่นโดยรัฐและสังคม: กรณีศึกษาก่อนรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557. ฟ้าเดียวกัน, 14(1), 85-114.

บอยด์ ดานาห์. (2561). เข้าใจโลกใหม่ของวัยรุ่นวุ่นเน็ต. บุ๊คสเคป.

บุศรินทร์ แปแนะ, อานนท์ ชวาลาวัณย์, ณัชปกร นามเมือง, ยิ่งชีพ อัชฌานนท์, ธนพร กีรติสมิต, และ เฝาซี ล่าเต๊ะ. (2561). เมื่อถึงเวลาดอกไม้จะบาน. Mob Data Thailand.

ปิยะบุตร แสงกนกกุล. (2562). การเมืองแห่งความหวัง. ภาพพิมพ์.

พริษฐ์ วัชรสินธุ์. (2565). ประชาธิปไตยไม่ใช่ฝัน. ลูป.

พวงทอง ภวัครพันธุ์. (2555). เสียงจากเหยื่อ “ความจริงเพื่อความยุติธรรม”. ใน ชัยธวัช ตุลาธน (บรรณาธิการ), ความจริงเพื่อความยุติธรรม: เหตุการณ์และผลกระทบจากการสลายการชุมนุม เมษา-พฤษภา 53 (พิมพ์ครั้งที่ 2, หน้า 10-23). ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณี เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.).

พิธา ลิ้มเจริญรัตน์. (2564). วิถีก้าวไกล. ภาพพิมพ์.

โพลนิสิตจุฬา 1,266 ตัวอย่าง “อนาคตใหม่” ครองใจ อยากได้ “ธนาธร-ชัชชาติ” เป็นนายก.(2562). ประชาชาติธุรกิจ. https://www.prachachat.net/politics/news-302289

ยุกติ มุกดาวิจิตร. (2564). วิวาทะมานุษยวิทยา: วิถีทฤษฎีและวิธีวิทยา. สยามปริทัศน์

รังสิมันต์ โรม. (2564). เรียนประชาชนที่เคารพ. ภาพพิมพ์.

เลือกตั้ง 2562: เช็กชื่อ 51.4 ล้านคนตรวจสิทธิเลือกตั้ง. (1 มีนาคม 2562). Thai PBS. https://www.thaipbs.or.th/news/content/278084

ศิวัช ศรีโภคางกุล. (2562). ปีศาจวิทยากับสังคมการเมืองไทนร่วมสมัย. ใน จันจิรา สมบัติพูนศิริ และ ประจักษ์ ก้องกีรติ (บรรณาธิการ), ระหว่างปริศนาและศรัทธา: ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ กับการเมืองมนุษย์ในศตวรรษ ที่ 21 (หน้า 219-248). สยามปฏิวัติ.

ส่องแฮชแท็ก “ฟ้ารักพ่อ” มาจากไหน ทำไมต้องเป็น “ธนาธร”. (2562). ผู้จัดการออนไลน์. https://mgronline.com/onlinesection/detail/9620000014262

อรรถสิทธิ์ พานแก้ว และ ชุติเดช เมธีชุติกุล (2564). “OK Bloomer”: เสียงสะท้อนจากเยาวชนไทย จากคูหาสู่การเคลื่อนไหว. รัฐศาสตร์สาร, 42(2), 37-68.

อัมพร จิรัฐติกร. (2563). รสนิยมและแฟนคลับละครไทยในอาเซียนและจีน: การตลาดและการเมืองเรื่องอารมณ์ในโลกออนไลน์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Andersen, K., Jakob. O., Bjarnoe C., Bordacconi M., Albaek E., & Vreese. C. (2020). Generational gaps in political media use and civic engagement from baby boomer to generation z. Routledge. https://doi.org/10.4324/9781003111498

Andini, A. N., & Akhni, G. N. (2021). Exploring youth political participation: K-Pop fan activism in Indonesia and Thailand. Global Focus, 1(1), 38-55.

Boler, M., & Davis, E. (2018). The affective politics of the “Post- truth” era: Feeling rules and networks subjectivity. Emotions, Space, and society, 27, 75-85.

buubae. (19 กรกฎาคม 2564). ไอดอลเพื่อชีวิต รวมวาทะจากไอดอลผู้คอลเอาท์เพื่ออนาคต. Mangozero. https://www.mangozero.com/idol-callout/

CANDYCLOVER. (16 เมษายน 2560). กระแส K-Pop ที่กำลังมีบทบาทจะก้าวข้ามวัฒนธรรมได้หรือไม่? พบกับ BTS และซีอีโอ ‘Hotman’ BANG จากสังกัด Big Hit ผู้กุมอเมริกา. https://candyclover.com/กระแส-k-pop-bts/

Cho, A., Byrne, J., & Pelter, Z. (2020). Digital civic engagement by young people. UNICIEF. https://www.unicef.org/globalinsight/reports/digital-civic-engagement-young-people

Dean, J. (2017). Politicizing fandom. The British Journal of Politic1s and International Relations, 19(2), 408-424.

Ganjakhundee, S. (2020). Youthquake evokes the 1932 revolution and shakes Thailand’s establishment. ISEAS Perspective, 2020(127), 1-9.

Goodwin, J., Jasper, J. M., & Polletta, F. (2001). Passionate Politics. The University of Chicago Press.

Harnphattananusorn, S., & Puttitanun, T. (2021). Generation gap and its impact on economic growth. Heliyon, 7(6). https://doi.org/10.1016/j.heliyon.2021.e07160

iLaw. (29 มกราคม 2564). In numbers: การชุมนุม 2563 [Image attached] [Status update]. Facebook. https://www.facebook.com/iLawClub/photos/a.10153394320770551/10164986648340551/?type=3

iLaw. (19 พฤษภาคม 2565). การชุมนุมปี 2563 พริบตาแห่งความเปลี่ยนแปลง: พลังก่อตัวจากไหน พัฒนาการอย่างไร เราเจออะไรมาบ้าง. https://freedom.ilaw.or.th/node/1059

Lertchoosakul, K. (2021). The white ribbon movement: High school students in the 2020 Thai youth protests. Critical Asian Studies, 53(2), 206-218. https://doi.org/10.1080/14672715.2021.1883452

Lünenborg, M., & Maier, T. (2018). The turn to affect and emotion in media studies. Media and Cummunication, 6(3), 1-4. https://doi.org/10.17645/mac.v6i3.1732

Henn M., Weinstein, M., & Dominic, W. (2002). Generation apart? Youth and political participation in British. British Journal of Politics and International Relations, 4(2), 167-192. https://doi.org/10.1111/1467-856X.t01-1-00001

McCargo, D. (2021). Disruptors’ dilemma? Thailand’s 2020 Gen Z protests. Critical Asian Studies, 53(2), 175-191. https://doi.org/10.1080/14672715.2021.1876522

Phoborisut, P. (2020). The 2020 Student Uprising in Thailand: A Dynamic Network of Dissent. ISEAS Perspective, 2020(129), 1-10.

Rachmawati, I. (2022). The magic of Kim Namjoon as a leader of BTS in conquering the American market. RUBIKON: Journal of Transnational American Studies, 9(2), 230-243. https://doi.org/10.22146/rubikon.v9i2.75588

Sinpeng, A. (2021). Hashtag activism: Social media and the #FreeYouth protest in Thailand. Critical Asian Studies, 53(2), 192-205. https://doi.org/10.1080/14672715.2021.1882866

Sloam, J., & Henn, M. (2018). Youthquake 2017. Palgrave Studies in Young People and Politics book series (PSYPP). https://link.springer.com/chapter/10.1007/978-3-319-97469-9_2

Talmon, G. (2019). Generation Z: What’s next?. Medical Science Educator, 29(suppl 1), 9-11. https://doi.org/10.1007/s40670-019-00796-0

Thomas, E., Beattie, T., & Zhang, A. (2020). #WhatHappeninginThailand: The power dynamics of Thailand’s digital activism. Australian Strategic Policy (ASPI). https://www.aspi.org.au/report/whatshappeninginthailand-power-dynamics-thailands-digital-activism

Waiwitlikhit, P. (2020). The Next Generation? a comparison between Thailand’s 1973 protests and Thailand’s 2020 protests. International Journal of Humanities and Social Science, 20(12), 16-25.

Williams, R. (1961). The long revolution. Chatto & Windus.

Williams, R. (1989). Resources of hope: Culture, democracy, socialism. Verso Books.

Zwaan K., & Brain J. (2012). Adapting idols: Authenticity, identity and performance in the global television. Routledge.