อ่านเศรษฐศาสตร์การเมืองในเรื่องสั้น “ขอแรงหน่อยเถอะ” ของ ศรีบูรพา

Main Article Content

เสาวณิต จุลวงศ์

บทคัดย่อ

“ขอแรงหน่อยเถอะ” เป็นเรื่องสั้นของศรีบูรพา นักเขียนไทยที่มีชื่อเสียงในช่วงทศวรรษ 2470-2490 เรื่องสั้นเรื่องนี้เป็นที่รู้จักในฐานะเรื่องสั้นแนวสัจนิยมแนวสังคมนิยมที่ตั้งคำถามต่อคุณค่าของแรงงาน แนวคิดของเรื่องแสดงถึงความคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองแนวลัทธิมาร์กซ์ โดยเสนอข้อถกเถียงเกี่ยวกับค่าของ “แรงงาน” เพื่อรื้อถอนอุดมการณ์ของสังคมศักดินาไทย อย่างไรก็ตามการคลี่คลายและจบเรื่องกลับย้อนแย้งโดยยืนยันคุณค่าเชิงสัญญะของแรงงานอันเกิดจากอิทธิพลของบริบทสังคมวัฒนธรรมไทย ทำให้สำนวน “ขอแรงหน่อยเถอะ” ได้แปรเปลี่ยนมาเป็นกลไกเชิงอุดมการณ์รองรับคุณค่าเชิงจริยธรรมในสังคมคุณธรรมนิยม   ของไทย

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
จุลวงศ์ เ. (2023). อ่านเศรษฐศาสตร์การเมืองในเรื่องสั้น “ขอแรงหน่อยเถอะ” ของ ศรีบูรพา . วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23(1), 586–611. https://doi.org/10.14456/lartstu.2023.25
บท
บทความวิชาการ

References

กนกศักดิ์ แก้วเทพ. (2549). สำนักเศรษฐศาสตร์การเมืองจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะเศรษฐศาสตร์.

กรรณชฎา พูนพนิช. (2541). ประวัติศาสตร์ขบวนการสหภาพแรงงานไทยยุคเริ่มต้นถึง พ.ศ. 2500. ใน ฉลอง สุนทราวาณิชย์, สุวิมล รุ่งเจริญ, ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา, และ สมาน แจ่มบุรี (บรรณาธิการ), ประวัติศาสตร์แรงงานไทย (ฉบับกู้ศักดิ์ศรีกรรมกร) (น. 113-128).

พิพิธภัณฑ์แรงงานไทย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์, ภาควิชาประวัติศาสตร์ และมูลนิธิ ฟรีดริค เอแบร์ท.

กำแหง อยู่เอี่ยม. (2522). เศรษฐศาสตร์การเมืองภาคต้น. จุติ.

จิตร ภูมิศักดิ์. (2563). โฉมหน้าศักดินาไทย (พิมพ์ครั้งที่ 11). ศรีปัญญา.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2519). ลัทธิเศรษฐกิจการเมือง. ไทยวัฒนาพานิช.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2524). เศรษฐศาสตร์กับประวัติศาสตร์ไทย. สร้างสรรค์.

เต็มยศ ปาลเดชพงศ์. (2561). Political Cartoonomics: เศรษฐศาสตร์การเมือง ฉบับการ์ตูน. เรือนแก้วการพิมพ์.

ทวี หมื่นนิกร. (2552). “...เศรษฐศาสตร์จึงต้องเป็นเศรษฐศาสตร์การเมือง”. โอเพ่นบุ๊คส์.

ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์. (2554). “เศรษฐศาสตร์กลางทะเลลึก” อำนาจของภาษา. ใน ปกป้อง จันวิทย์ (บรรณาธิการ), ปาฐกถา 60 ปี เศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ (น. 148-191). โอเพ่นบุ๊กส์.

ประภัสสร เสวิกุล. (2549). บทบาทของนายกุหลาบ สายประดิษฐ์ กับวิถีประชาธิปไตย. สถาบันพระปกเกล้า.

ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. (2538). เศรษฐศาสตร์การเมือง – โลกทัศน์กับการวิเคราะห์ระบบและการเปลี่ยนแปลง. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะเศรษฐศาสตร์.

พระมหาธนวุฒิ โชติธมฺโม (อุปชัย). (2551). ศึกษาวิเคราะห์อุดมธรรมในทัศนะของศรีบูรพา (กุหลาบ สายประดิษฐ์) [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. https://e-thesis.mcu.ac.th/thesis/2581#

พระมหาบุญเรียน ปภงฺกโร (พิลาพันธ์). (2542). การศึกษาวิเคราะห์แนวความคิดเรื่องเมตตาในพุทธปรัชญาเถรวาท [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. https://e-thesis.mcu.ac.th/thesis/2822

พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์. (2546). ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมือง. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

รุ่งวิทย์ สุวรรณอภิชน. (2548). ศรีบูรพา: ศรีแห่งวรรณกรรมไทย (พิมพ์ครั้งที่ 3). วิชญา.

วิทยากร เชียงกูร. (2532). ศึกษาบทบาทและความคิดศรีบูรพา. ผลึก.

วิทยากร เชียงกูล. (2544). การเมืองภาคประชาชน มองจากชีวิตและงานของ “ศรีบูรพา”. มิ่งมิตร.

ศรีบูรพา. (2536). ขอแรงหน่อยเถอะ. ดอกหญ้า.

สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ. (2551). “สุภาพบุรุษ” ในพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับวรรณกรรมของศรีบูรพา [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุชาติ สวัสดิศรี. (2564, 28 มีนาคม). สุภาพบุรุษ...มนุษยภาพ “ศรีบูรพา” กุหลาบ สายประดิษฐ์. https://www.sriburapha.net/2021/03/28/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%A9-%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E-E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5/

อัญชลี สุสายัณห์. (2541). แรงงานไพร่ในสังคมไทยโบราณ. ใน ฉลอง สุนทราวาณิชย์, สุวิมล รุ่งเจริญ, ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา, และ สมาน แจ่มบุรี (บรรณาธิการ), ประวัติศาสตร์แรงงานไทย (ฉบับกู้ศักดิ์ศรีกรรมกร) (น. 1-30). พิพิธภัณฑ์แรงงานไทย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์, ภาควิชาประวัติศาสตร์ และมูลนิธิ ฟรีดริค เอแบร์ท.

Engels, F. (1877). Subject matter and method. In Anti-Dühring. https://www.marxists.org/archive/marx/works/1877/anti-duhring/ch13.htm

Chunlawong, S. (2008). Consumption and consumer society as postmodernity in contemporary Thai fiction [Special Issue]. Manusya, 15, 1-12.

Khemmanit. (2016, March 17). เรื่องสั้นดีเด่น 100 ปี เรื่องสั้นไทย (ขอแรงหน่อยเถอะ). http://knemmanita.blogspot.com/2016/03/100.html