ภาวะก้ำกึ่งและคลุมเครือในตำแหน่งแห่งที่ของคำว่า “อีสาน” ตั้งแต่ทศวรรษ 2440 ถึงปัจจุบัน

Main Article Content

เชิดชาย บุตดี
วิศรุต พึ่งสุนทร

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษาเกี่ยวกับความหมายและพลวัตของคำว่า “อีสาน” ในฐานะคำซึ่งมีอิทธิพลต่อการจัดวางตำแหน่งแห่งที่ให้กับบรรดาสรรพสิ่งที่มีอยู่ในพื้นที่ที่ถูกเรียกว่าอีสาน ไม่ว่าในด้านภาษา ประวัติศาสตร์ ศิลปะ วรรณกรรม และวัฒนธรรมประเพณี ฯลฯ การศึกษาใช้วิธีสังเคราะห์เอกสารด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า คำว่า “อีสาน” คือคำที่เกิดขึ้นจากนโยบายและบทบาททางการเมืองของชนชั้นปกครองสยามที่มีต่อพื้นที่อีสานตั้งแต่ต้นทศวรรษ 2430 อันทำให้คำดังกล่าวเจือปนไปด้วยอุดมการณ์ในความเป็นไทย แต่จากความเป็นจริงที่ว่า คำว่าอีสานเกิดขึ้นเพื่อนิยามพื้นที่ที่ราบสูงโคราชในฐานะหน่วยการเมืองที่ขึ้นกับรัฐสยามที่กรุงเทพฯ โดยไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้อธิบายบรรดาสรรพสิ่งที่มีอยู่ในพื้นที่ที่ถูกเรียกว่าอีสาน เมื่อประกอบกับที่พบว่า คำดังกล่าวนี้มักถูกอธิบาย ในลักษณะที่สัมพันธ์กับความศิวิไลซ์แบบลาว อันทำให้คำว่าอีสานเต็มไปด้วยภาวะก้ำกึ่งและคลุมเครือ รวมทั้งไม่ลงตัวสำหรับการอธิบายเกี่ยวกับสรรพสิ่งที่มีอยู่ในพื้นที่อีสาน

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
บุตดี เ. ., & พึ่งสุนทร ว. . (2023). ภาวะก้ำกึ่งและคลุมเครือในตำแหน่งแห่งที่ของคำว่า “อีสาน” ตั้งแต่ทศวรรษ 2440 ถึงปัจจุบัน. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23(3), 86–110. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/liberalarts/article/view/265303
บท
บทความวิจัย

References

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. (2561). มรดกภูมิปัญญาอีสาน. กระทรวงวัฒนธรรม, กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2559). ชาวบรู: การปรับตัวต่อรองและภาวการณ์กลายเป็นทางชาติพันธุ์ในยุคร่วมสมัย. ใน ชยันต์ วรรธนะภูติ, มาลี สิทธิเกรียงไกร, เบญจพร ดีขุนทด, รักชนก ชำนาญมาก, ปริศนา มั่งคั่ง, และ เพ็ญพิศ ชงักรัมย์ (บรรณาธิการ). การประชุมวิชาการระดับชาติ วิถีชาติพันธุ์ในอีสาน : ภาวการณ์กลายเป็นในกระแสการเปลี่ยนแปลงสู่เสรีนิยมใหม่ (น. 542-569). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คณะสังคมศาสตร์, ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา.

คมลักษณ์ ไชยยะ. (2562). พื้นฐานแนวคิดสัญญะวิทยาของโรล๊องด์ บาร์ตส์. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7(2), 27-61.

จุฬาพร เอื้อรักสกุล. (2560). องค์กรระหว่างประเทศกับการสร้างอัตลักษณ์ข้ามชาติ: ข้อถกเถียงเชิงทฤษฎี. วารสารศิลปศาสตร์, 17(2), 1-19.

จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2562). การวิเคราะห์ข้อความ (พิมพ์ครั้งที่ 2). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชาร์ลส์ เอฟ คายส์. (2556). อีสานนิยม: ท้องถิ่นนิยมในสยามประเทศไทย (รัตนา โตสกุล, ผู้แปล). มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. (ต้นฉบับพิมพ์ปี 1967).

ชวลิต อธิปัตยกุล. (2559). ศิลปะอีสาน: จากวัฒนธรรมก่อนประวัติศาสตร์ถึงปัจจุบันโดยสังเขป. เต้า-โล้.

ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์. (2551). ฟ้าบ่กั้น หยังว่าให้ห่างกัน. วารสารอ่าน, 1(3), 71-93.

ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2548). ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ. (2468). แสดงบรรยายพงศาวดารสยาม. ประเสริฐสมุด.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ. (2503). นิทานโบราณคดี (พิมพ์ครั้งที่ 10). เขษมบรรณกิจ.

เติม วิภาคย์พจนกิจ. (2513). ประวัติศาสตร์อีสาน. สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.

เติม สิงหัษฐิต. (2499). ฝั่งขวาแม่น้ำโขง เล่ม 1. คลังวิทยา.

ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ. (2554). แนวคิดและแนวทางการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น. อินทนิล.

ธีรพงษ์ กันทำ, อลงกรณ์ อรรคแสง, และ วิทยา สุจริตธนารักษ์. (2559). อีสานการเมืองเรื่องพื้นที่: พรมแดนแห่งความรู้. วารสารการเมืองการปกครอง, 6(2), 309-330.

ธีระพล อันมัย. (2562). ไม่มีภาษาอีสานในโลกใบนี้: อีสานใหม่ [นาทีที่ 0.04-0.11 และ 2.17-2.23]. Youtube. https://www.youtube.com/watch?v=lX0oriwGjdM

นิยม วงศ์พงษ์คำ. (ม.ป.ป.). ประวัติศาสตร์ศิลปะอีสาน. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, คณะศึกษาศาสตร์.

นิวัตน์ พ. ศรีสุวรนันท์. (2512). ไทยลาว - อีสาน. ภาคอิสานการพิมพ์.

บรรทม รุ่งเลิศ. (2516). ภาษาอีสานในวรรณคดีไทยสมัยอยุธยาตอนต้น [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

บุญเกิด พิมพ์วรเมธากุล. (2544). ประเพณีอีสานและเกร็ดโบราณคดีไทอีสาน. คลังนานาธรรม.

บุญเกิด พิมพ์วรเมธากุล และ นภาพร พิมพ์วรเมธากุล. (2545). พจนานุกรมภาษาถิ่นอีสาน. คลังนานาวิทยา.

บุญช่วย อัตถากร. (2522). ประวัติศาสตร์แห่งภาคอิสาณและเมืองมหาสารคาม และผลงานต่าง ๆ. ม.ป.พ.

บุนยก แสนสุนทอน. (2547). ยุคทองของวรรณคดีลาว. ใน กงเดือน เมดตะวง, ฮารัน ฮุนดิอุส, ดารา กันละยา, เดวิด วอร์ตัน, และ ขันทะมาลี ยังนุวง (บรรณาธิการ), มรดกวรรณคดีลาว การปกปักรักษา การเผยแผ่ และทัศนะการค้นคว้า (หน้า 71-75). หอสมุดแห่งชาติลาว.

เบญจวรรณ นาราสัจจ์. (2560). พัฒนาการภูมิปัญญาอีสาน: จากความรู้พื้นบ้านสู่มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง.

ปฐม คเนจร, ม.ร.ว. (2458). พงศาวดารหัวเมืองมณฑลอิสาณ. ใน ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 4 พิมพ์แจกในงานศพพัน ภัทรนาวิก. โสภณพิพรรฒธนากร.

ปรีชา พิณทอง, พระมหา. (2495). ประเพณีโบราณไทยอิสาน. พ.พิทยาคาร.

ปรีชา พิณทอง. (2532). สารานุกรม - ไทย - อังกฤษ. ศิริธรรม.

พระพรหมมุนี (อ้วน ติสโส). (2478). ตำนานวัดสุปัฏนาราม พิมพ์เป็นที่ระลึกในงานผูกพัทธสีมาและฉลองพระอุโบสถวัดสุปัฏนาราม จังหวัดอุบลราชธานี. อักษรเจริญทัศน์.

พระอริยานุวัตร เขมจารี. (2526). ประเพณีโบราณอีสานบางเรื่องเล่ม 1 - 2. ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดมหาสารคาม วิทยาลัยครูมหาสารคาม.

เพ็ญพักตร์ ลิ้มสัมพันธ์. (2525). อักษรธรรมอีสาน [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ไพฑูรย์ มีกุศล. (2517). การปฏิรูปการปกครองมณฑลอีสาน พ.ศ 2436-2453. กรมการฝึกหัดครู, หน่วยศึกษานิเทศก์.

มหาสิลา วีรวงส์. (2557). ประเพณีลาว: การสู่ขวัญ ประเพณีแห่งการตั้งต้นชีวิต การเกิด การบวช การแต่งงาน การตาย และทัศนะวิจารณ์. ดอกเกด.

รัตนา จันทร์เทาว์ และ เชิดชัย อุดมพันธ์. (2560). ชื่ออาหารท้องถิ่นอีสานและภาคใต้: มุมมองอ้าน อรรถศาสตร์ชาติพันธุ์. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตหาดใหญ่, 9(1), 63-89.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. นานมีบุ๊คส์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. ราชบัณฑิตยสถาน.

ลูก ส. ธรรมภักดี. (ม.ป.ป.). ประเพณีโบราณอีสาน. ม.ป.พ.

วิโรฒ ศรีสุโร. (2536). สิมอีสาน. เมฆาเพรส.

วิโรฒ ศรีสุโร. (2539). ธาตุอีสาน. เมฆาเพรส.

ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2555). พระพุทธรูปสำคัญและพุทธศิลป์ในดินแดนไทย. เมืองโบราณ.

ศิริพร เชิดนอก และ จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2559). มานึขแมร์: การนิยามตัวตนของชาวไทยเชื้อสายเขมรในบริบทอีสานใต้. ใน ชยันต์ วรรธนะภูติ, มาลี สิทธิเกรียงไกร, เบญจพร ดีขุนทด, รักชนก ชำนาญมาก, ปริศนา มั่งคั่ง, และ เพ็ญพิศ ชงักรัมย์ (บรรณาธิการ). การประชุมวิชาการระดับชาติ วิถีชาติพันธุ์ในอีสาน : ภาวการณ์กลายเป็นในกระแสการเปลี่ยนแปลงสู่เสรีนิยมใหม่ (น. 202-218). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คณะสังคมศาสตร์, ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา.

ศิริพร บางสุด. (2531). การศึกษาวรรณกรรมอีสานเรื่องพระกึดพระพาน [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สมบัติ พรหมมินทร์ ค้อนทอง. (2551). ถ้อยเสียงสำเนียงลาว. ศิริภัณฑ์ออฟเซ็ท.

สมัย วรรณอุดร. (2545). การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมอีสานและลาวเรื่องลำบุษบา [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สวิง บุญเจิม. (2539). ตำรามรดกอีสานหรือมูลมังอีสาน. มรดกอีสาน.

สัญญา สมประสงค์. (2555). การศึกษาการทำเครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสาน: กรณีศึกษาหมู่บ้านท่าเรือ ตำบลท่าเรือ อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม [ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สายพิณ แก้วงามประเสริฐ. (2538). การเมืองในอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี. มติชน.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2550). อัตลักษณ์. http://legacy.orst.go.th/?knowledges==อัตลักษณ์-๑๖-มิถุนายน-๒๕

สำนักราชเลขาธิการ. (2541). พจนานุกรมภาคอีสาน - ภาคกลาง ฉบับปณิธาน สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสสมหาเถระ) (พิมพ์ครั้งที่ 2). อมรินทร์.

สุเทพ สุนทรเภสัช. (2521). ระบบอาณานิคมภายในกับภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: การเสนอตัวแบบเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของอีสานกับรัฐบาลกลางของประเทศไทย. ใน การสัมมนาประวัติศาสตร์อีสาน เอกสารหมายเลข 12. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, คณะสังคมศาสตร์.

สุเทพ สุนทรเภสัช. (2548). หมู่บ้านอีสาน ยุค “สงครามเย็น”: สังคมวิทยาของหมู่บ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (พิมพ์ครั้งที่ 2). มติชน.

โสวิทย์ บำรุงภักดิ์ และ ทักษิณาร์ ไกรราช. (2558). เครือข่ายการเรียนรู้: กระบวนการสร้างและการใช้ความรู้จากวรรณกรรมเรื่องสินไซ สู่การพัฒนาสังคมของชาวจังหวัดขอนแก่น. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น.

อุศนา นาศรีเคน. (2548). อีสานในการรับรู้และทัศนะของผู้ปกครองกรุงเทพฯ ตั้งแต่หลังกบฏเจ้าอนุวงศ์ พ.ศ.2369 ถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Hechter, M. (1975). Internal colonialism: The celtic fringe in British national development, 1536-1966. Berkley & L.A.

Iijima, A. (2018). The Invention of “Isan” History. Journal of the Siam Society, 106, 171-200.

Streckfuss, D. (1993). The mixed colonial legacy in siam: Origin of Thai racialist thought, 1890-1910. In L. J. Sears & J. Smail (Eds.), Autonomous histories, particular truths: Essays in honor of John R.W. Smail (pp. 123-153). University of Wisconsin Center for Southeast Asian Studies.