อักขระกัมปนาทหวาดไหว : จินตนาการเรื่องเสียงรบกวนในเรื่องสั้นไทย ทศวรรษ 2460-2470
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยเรื่อง “อักขระกัมปนาทหวาดไหว” ศึกษาเรื่องสั้นแนวขบขันและแนวรักที่ตีพิมพ์ในนิตยสารไทยระหว่างทศวรรษ 2460-2470 ผู้วิจัยประยุกต์แนวคิด “เสียงก้องจากวรรณกรรม (literary acoustic)” และบทบาทของวรรณกรรมในฐานะ “เสียงรบกวนของวัฒนธรรม (noise of culture)” ของฟิลลิปป์ ชไวก์เฮาเซอร์ (Philipp Schweighauser) มาชี้ให้เห็นว่า ในขณะที่บทความในนิตยสารยุคนี้เขียนถึงความหวังในการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าด้วยเทคโนโลยีไร้สายอันทันสมัยที่สามารถควบคุมและใช้ประโยชน์จากคลื่นเสียง เรื่องสั้นหลายเรื่องกลับนำเสนอเรื่องราวหักมุม ล้อเลียนเสียดสี ผิดพลาด และขัดแย้ง ที่เกิดจากเสียงรบกวนและสิ่งแวดล้อมทางเสียงในภาวะสมัยใหม่ กล่าวคือ คุณสมบัติของเสียงที่เป็นคลื่นสามารถทะลุทะลวงข้ามกรอบพื้นที่ต่าง ๆ ได้ ทั้งในความเป็นจริงและในฐานะความเปรียบนั้น ทำให้เสียงเป็นสื่อที่สามารถจะใช้สร้างปมขัดแย้งที่นำเสนอเหตุการณ์เหนือความคาดหมาย อันเป็นเครื่องมือที่นักเขียนใช้วิพากษ์วิจารณ์ตัวตนและความสัมพันธ์ของผู้คนในพื้นที่สมัยใหม่ที่มีความคลุมเครือระหว่างพื้นที่ส่วนตัว/พื้นที่สาธารณะ เมือง/ชนบท และโลกตะวันออก/ตะวันตก
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ใกล้รุ่ง อามระดิษ. (2533). ร้อยแก้วแนวขบขันของไทยตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ถึงรัชกาลที่ 7 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository.
ไกรวุฒิ จุลพงศธร. (2564). สุนทรียสหสื่อ (The Intermedial Aesthetics). ใน นัทธนัย ประสานนาม (บรรณาธิการ). สุนทรียสหสื่อ (น. xiv-xxxiii). ศยาม.
จิรวัฒน์ แสงทอง. (2546). ชีวิตประจำวันของชาวสยามในกรุงเทพฯ พ.ศ. 2426-2475 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository.
ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. (2558). เปิดพื้นที่อย่างใหม่ในทำเนียบวรรณกรรมไทย. ใน ไอดา อรุณวงศ์(บรรณาธิการบริหาร). อ่านจนแตก: วรรณกรรม ความทันสมัย และความเป็นไทย. แปลโดย พงษ์เลิศ พงษ์วนานต์ (น. 66-103). อ่าน.
ทิดคุ่ย. (2471). ยามซวย. ไทยเขษม, 5(6), 824-827.
ธรรมศักดิ์มนตรี, เจ้าพระยา. (2480). โคลงกลอนของครูเทพ. ไทยเขษม.
ป.ชมะโชติ. (2474). วิทยุทำเหตุ. ไทยเขษม, 8(6), 797-811.
พระเริงระงับไภย. (2465-2466). อาศัยไฟฟ้า. เสนาศึกษาและแผ่วิทยาศาสตร์. 7(1), 132-135.
ภัทรนิษฐ์ เกียรติธนวิชญ์. (2565). สยามไซไฟ: นิยายวิทยาศาสตร์และจินตนาการถึงโลกวิทยาศาสตร์ในสังคมไทย ทศวรรษ 2470-2520. ใน ทวีศักดิ์ เผือกสม (บรรณาธิการ). ท่องไปบนดวงดาว ก้าวลงบนดวงจันทร์: ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ในสังคมไทย (น. 263-279). มูลนิธิเพื่อการวิจัยสังคมเอเชีย.
มรกด. (2467). รางวัลแข่งขัน. ไทยเขษม, 1(6), 871-880.
รณสิทธิพิชัย, หลวง. (2477). กิจการของสำนักงานโฆษณาการ. บทบรรยายทางวิทยุกระจายเสียง, 2 กันยายน 2477.
รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. (2544). วรรณกรรมปัจจุบัน (พิมพ์ครั้งที่ 13). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วันชนะ ทองคำเภา. (2555). อย่ารำลึกถึงเราว่าเหล่าอันธพาล!: พื้นที่คุกกับการเมืองของ การนำเสนอภาพแทนตนเองผ่านอัตชีวประวัติในบันทึกเลือดจากลาดยาว. วรรณวิทัศน์, 12, 155-190.
วันชนะ ทองคำเภา. (2561). ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมของ “ผู้ชายพ่ายรัก” จากเพลงคู่เลิศ-ศรีสุดา. วรรณวิทัศน์, 18, 57-84.
วันชนะ ทองคำเภา. (2564). ลำนำจากปรโลก: เสียงผี สื่ออิเล็กทรอนิกส์และภาวะสมัยใหม่ในเรื่องสั้นผีไทย (ทศวรรษ 2480-2510). ใน นัทธนัย ประสานนาม (บรรณาธิการ). สุนทรียสหสื่อ (น. 375-428). ศยาม.
วิภา กงกะนันท์. (2561). กำเนิดนวนิยายในประเทศไทย ประวัติวรรณคดีไทยสมัยใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
ศิลปวัฒนธรรม. (30 กรกฎาคม 2563). ย้อนรอยกิจการ “โทรศัพท์” ไทย จากระบบ “ต่อสาย” สู่โทรศัพท์สาธารณะ. ศิลปวัฒนธรรม. https://www.silpa-mag.com/history/article_53276
สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป). ประวัติ ความเป็นมา. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2565 จาก http://nbt1.prd.go.th/derivate.html
ส่ง เทภาสิต. (2470). น้ำเสียง. ไทยเขษม. 4(5), 721-724.
ส่ง เทภาสิต. (2539). น้ำใจของนรา. ใน ปรีดา ข้าวบ่อ (บรรณาธิการบริหาร). ในห้วงรัก : เรื่องรักของ 10 นักประพันธ์เอก (น. 11-33). มิ่งมิตร.
สมิทธ์ ถนอมศาสนะ. (2558). การเปลี่ยนแปลงทางความคิดของชนชั้นกลางไทยกับ “เรื่องอ่านเล่น” ไทยสมัยใหม่ ทศวรรษ 2460 - ทศวรรษ 2480 [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository.
สยามพิมพการ: ประวัติศาสตร์การพิมพ์ในประเทศไทย. (2549). มติชน.
สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ (2563). สยามเยนเติลแมน. มติชน.
สุดารัตน์ เสรีวัฒน์. (2520). วิวัฒนาการของเรื่องสั้นในเมืองไทยตั้งแต่แรกจนถึง พ.ศ. 2475 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository.
สุพรรณี วราทร. (2519). ประวัติการประพันธ์นวนิยายไทย. มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
สุมาลี วีระวงศ์ (บรรณาธิการ). (2547) ร้อยแก้วแนวใหม่ของไทย พ.ศ. 2417-2443 (พิมพ์ครั้งที่ 2). ศยาม.
ห้องสมุดดิจิทัลวัชรญาณ. (ม.ป.ป.). บทละครเรื่องรามเกียรติ์. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2565จาก https://vajirayana.org/บทละครเรื่องรามเกียรติ์.
อนุทูตวาที, พระยา. (2459). วิทยุโทรศัพท์. สมุทสาร, 3(16), 35-41.
อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์. (2531). ความเปลี่ยนแปรของสำนึกทางประวัติศาสตร์ และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทย ตั้งแต่รัชกาลที่ 4 ถึง พ.ศ. 2475 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository.
อากาศดำเกิง รพีพัฒน์, หม่อมเจ้า. (2472). ดาราคู่ชีพ. ไทยเขษม. 6(7), 905-920.
อาทิตย์ เจียมรัตตัญญู. (2560). จาก "โซ๊ด" สู่ "สะวิง": อัสดงคตนิยมกับการเมืองของการแปลทางวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่. รัฐศาสตร์สาร. 38(2), 73-130.
เอมอร นิรัญราช. (2521). ทัศนะทางสังคมในนวนิยายไทยสมัยรัชกาลที่ 7 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository.
Anderson, B. R. O. (1985). In the mirror: literature and politics in Siam in the American era (R. C. Mendiones, Trans). Duang Kamol.
Barmé, S. (2002). Woman, man, Bangkok: Love, sex, and popular culture in Thailand. Rowman & Littlefield.
Chittiphalangsri, P. (2014). The emerging literariness: translation, dynamic canonicity and the problematic verisimilitude in early Thai prose fictions In U. S.-p. Kwan & L. W.-c. Wong (Eds.), Translation and Global Asia: Relocating Networks of Cultural Production (pp. 207-240). Chinese University Press.
Connor, S. (2004). Sound and the self. In M. M. Smith (Ed.), Hearing history: a reader (pp. 54-66). University of Georgia Press.
Halliday, S. (2015). Sonic modernity: representing sound in literature, culture and the arts. Edinburgh University Press.
Haukamp, I., Hoene, C., & Smith, M. D. (2023). Asian sound cultures: voice noise sound technology. Routledge.
Hendy, D. (2014). Noise: a human history of sound & listening. Profile Books.
LaBelle, B. (2010). Acoustic territories: sound culture and everyday life. Continuum.
Mansell, J. G. (2020). Noise. In A. Snaith (Ed.), Sound and literature (pp. 154-169). Cambridge University Press.
Platt, M. (2019). How does Thailand sound? In N. Porath (Ed.), Hearing Southeast Asia: sound of hierarchy and power in context (pp. 367-381). NIAS Press.
Schafer, R. M. (2004). Soundscapes and earwitnesses. In M. M. Smith (Ed.), Hearing history: a reader (pp. 3-9). University of Georgia Press.
Schweighauser, P. (2015). Literary Acoustics. In G. Rippl (Ed.), Handbook of Intermediality: Literature - Image - Sound - Music (pp. 475-493). De Gruyter.
Sconce, J. (2000). Haunted media: electronic presence from telegraphy to television. Duke University Press.
Subrahmanyan, A. (2013). Reinventing Siam: Ideas and Culture in Thailand, 1920-1944 [Doctoral dissertation]. University of California.
Tausig, B. (2019). Bangkok is ringing: sound protest and constraint. Oxford University Press.
Thompson, E. A. (2004). The soundscape of modernity: architectural acoustics and the culture of listening in America, 1900-1933. MIT Press.
Tongkhampao, W. (2019). Representing nakleng: modernity, media and masculinities in Thailand (1948-2018) [Doctoral dissertation]. Monash University.