การศึกษามุมมองของประชากรไทยวัยหนุ่มสาวเกี่ยวกับวัฒนธรรมประชานิยมของสหรัฐอเมริกา
Main Article Content
บทคัดย่อ
ยุคของสื่อใหม่ที่การติดต่อเป็นไปอย่างเสรีทำให้ผู้ผลิตและผู้บริโภคสื่อมีความสัมพันธ์กันใกล้ชิด ผู้บริโภคเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการสร้างสรรค์และเผยแพร่วัฒนธรรมประชานิยมโดยเฉพาะสู่ประชากรไทยวัยหนุ่มสาวที่เป็นผู้เข้าถึงและบริโภคสื่อวัฒนธรรมประชานิยมจากสหรัฐอเมริกามากกว่ากลุ่มอื่นจึงน่าจะได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก ในการศึกษานี้คณะผู้วิจัยมุ่งศึกษาประเภทของสื่อวัฒนธรรมประชานิยมของสหรัฐอเมริกาที่ส่งผลกระทบต่อประชากรกลุ่มนี้มากที่สุด และศึกษาระดับและลักษณะของผลกระทบจากวัฒนธรรมประชานิยมนั้นในด้านวิถีชีวิต ค่านิยม และปัญหาสังคมในภาพรวม ด้วยการใช้แบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ผู้ตอบให้ข้อมูลด้วยการตอบคำถามปลายปิดและแสดงความคิดเห็นโดยใช้สเกลของลิเคิร์ท และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา นอกจากนี้ยังมีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากคำถามปลายเปิดและใช้วิธีการวิเคราะห์แก่นเรื่องเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาแสดงว่าสื่อที่ส่งผลกระทบต่อประชากรกลุ่มนี้มากที่สุดคือภาพยนตร์ และผลกระทบของวัฒนธรรมประชานิยมนี้ต่อสังคมไทยในด้านวิถีชีวิตและค่านิยมนั้นอยู่ในระดับมาก ส่วนปัญหาสังคมอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งผลกระทบนี้ถึงจะเป็นไปในด้านบวกและด้านลบ แต่มีทิศทางบวกมากกว่า การศึกษานี้จึงแสดงให้เห็นว่าผลกระทบของวัฒนธรรมดังกล่าวในยุคของสื่อใหม่มีความแตกต่างจากการศึกษาในอดีตที่ผ่านมา และแสดงให้เห็นว่าอำนาจของสหรัฐอเมริกาที่อยู่ในประเทศไทยนั้นอาจจะยังไม่ได้อยู่ในภาวะถดถอย การศึกษานี้จึงส่งเสริมความเข้าใจวัฒนธรรมที่มีการเปลี่ยนแปลงและการวางนโยบายในเชิงปฏิบัติในด้านการศึกษาและการสื่อสารกับประชากรไทยวัยหนุ่มสาว
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
เกตุชพรรณ์ คำพุฒ. (2558). ปริทัศน์วัฒนธรรมสมัยนิยม: ฐานคิดและปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 34(1), 5-28.
กนกรัตน์ เลิศชูสกุล. (2566, 25 พฤษภาคม). อนาคตใหม่-ม็อบคนรุ่นใหม่-ปรากฏการณ์ก้าวไกล: พลังส่งต่อจาก 2562 ถึง 2566. The 101 World. https://www.the101.world/social-movement-and-future-forward/
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). สรุปผลที่สำคัญ: สำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ. ศ. 2563. สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
กันต์ธนัน ดำดี และ อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์. (2565). การบริโภคเชิงสัญญะและผลของวัฒนธรรมกระแสนิยมของไอดอลในสังคมไทย กรณีศึกษา: แฟนคลับและวงไอดอล BNK48. Connexion Journal of Humanities and Social Sciences, 11(1), 24-44.
กาญจนา แก้วเทพ. (2549). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). เอดิสันเพรสโปรดักส์.
กิตติ ประเสริฐสุข. (2561). Soft Power ของเกาหลีใต้: จุดแข็งและข้อจำกัด. International Journal of East Asia Studies, 22(1), 122-139.
ชุลีพร เชวงศักดิ์โสภาคย์. (2541). การเปิดรับสื่อ การรับรู้เกี่ยวกับสังคมตะวันตก และการใช้ชีวิตแบบสังคมตะวันตกของวัยรุ่นไทยในเขตกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository.
ฐนยศ โล่ห์พัฒนานนท์. (2563). สื่อบันเทิงกับความมั่นคงใหม่ในประเทศสหรัฐอเมริกา: มองผ่านบทบาทภาพยนตร์ฮอลลีวูด. วารสารความมั่นคงศึกษา, 4, 33-48.
ณฐมน หมวกฉิม, สุรพล สุยะพรหม, และ ยุทธนา ปราณีต. (2565). การตื่นตัวทางการเมืองของเยาวชนในระบอบประชาธิปไตยที่มีผลต่อการเลือกตั้งทั่วไปของไทย. วารสารรัชต์ภาคย์, 16(44), 103-118.
ณัฐกานต์ แก้วขำ และ ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ. (2564). บทบาทของอุตสาหกรรมสื่อโทรทัศน์ใน ภูมิทัศน์ของสื่อใหม่ภายใต้ระบบเศรษฐกิจดิจิทัล. วารสารนิเทศศาสตร์, 39(1), 107-120.
ดวงทิพย์ เจริญรุกข์. (2564). อิทธิพลสื่อบันเทิงเกาหลี และค่านิยมในวัฒนธรรมเกาหลีต่อ การเลือกเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาเกาหลีของนักศึกษาไทย. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์, 25(2), 126-139.
ธัญญากร บุญมี และ อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว. (2561). อัตลักษณ์เสมือนกับการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบนเครือข่ายสังคมเกมส์ออนไลน์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, 6(1), 82-95.
นพดล อินทร์จันทร์. (2557). ภาพยนตร์ไทยในฐานะสินค้าทางวัฒนธรรม. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 2(4), 6-13.
ปภังกร ปรีดาชัชวาล, ไฉไล ศักดิวรพงศ์, และ สากล สถิตวิทยานันท์. (2556). การยอมรับและพฤติกรรมการเลียนแบบทางวัฒนธรรมจากสื่อบันเทิงเกาหลีของวัยรุ่นไทย. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5(1), 17-30.
ประกอบเกียรติ อิ่มศิริ. (2556). หลักการสื่อสารมวลชน. ศูนย์เรียนรู้การผลิตและจัดการธุรกิจสิ่งพิมพ์ดิจิตอล.
ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. (2553). วัฒนธรรมวัยรุ่น. วารสารสังคมศาสตร์, 22(1), 25-52.
พุฒินันท์ ปรีดี และ ธีรภัทร วรรณฤมล. (2560). การสื่อสารอุดมการณ์อเมริกันผ่านภาพยนตร์ซูเปอร์ฮีโร่ของบริษัทมาร์เวล. วารสารการสื่อสารมวลชน, 5(1), 18-41.
ภัทร ด่านอุดม. (2541). หากดูไม่เป็นการรบกวนก็จะชวนมาศึกษา Popular Culture กัน (พิมพ์ครั้งที่ 3). สำนักพิมพ์รัฐศาสตร์สาร.
รมิตา สาสุวรรณ์. (2560). การเปิดรับกับทัศนคติ และพฤติกรรมการเลียนแบบวัฒนธรรมเกาหลีของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. Thammasat University Digital Collections.
วิริยะ สว่างโชติ. (2561). อุตสาหกรรมทางวัฒนธรรมกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์. ศูนย์ผู้นำธุรกิจเพื่อสังคมแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วีรยุทธ พจน์เสถียรกุล และ จิราพร พรประภา. (2562). ไร้สาระหรือมีแก่นสาร?: คุณค่าของ มังงะ (การ์ตูนญี่ปุ่น) ในฐานะผลผลิตทางวัฒนธรรมประชานิยมต่อสังคมไทย. International Journal of East Asian Studies, 23(2), 384-398.
ศิริพร ดาบเพชร. (2565). K WAVE กับเศรษฐกิจเกาหลีใต้. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, คณะสังคมศาสตร์.
อดิพล เอื้อจรัสพันธุ์. (2561). พฤติกรรมการใช้สื่อของกลุ่มเจ็นเนอเรชั่น เอ็กซ์ และเจ็นเนอเรชั่น วาย. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 1(11), 59-65.
อัมพร จิรัฐติกร. (2559). บทบรรณาธิการ วัฒนธรรมสมัยนิยม: ความหมายและกระบวนทัศน์. วารสารสังคมศาสตร์, 28(2), 7-20.
เอื้อมพร หลินเจริญ. (2555). เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ. วารสารการวัดผลการศึกษา, 17(1), 17-29.
Ancho, I., Calimbahin, G., Basal, M., & Dela Rosa, W. (2020). Education fever and other academic-related illnesses as diagnosed by the Thai movie “Bad Genius”. Thai Journal of East Asian Studies, 24(2), 20-34.
Anheier, H. K, & Isar, Y. R. (2011). Heritage, memory and identity. Sage.
Anheier, H. K. (2020). Cultures, values, and identities: What are the issues?. Global Perspectives, 1(1): 11755. https://doi.org/10.1525/001c.11755
Butsaban, K. (2019). How K-Pop Thai idols affect Koreans’ public perception of Thai people and multicultural families: The case of Blackpink’s Lisa. International Journal of East Asian Studies, 23(2). 418-438.
Carmona, M., Guerra, R., & Hofhuis, J. (2022). What does it mean to be a “citizen of the world”: A prototype approach. Journal of Cross-Cultural Psychology, 53(6), 547-569.
Charoensereechai, C., Nurittamont, W., Phayaphrom, B., & Siripipatthanakul, S. (2022). Understanding the effect of social media advertising values on online purchase intention: A case of Bangkok Thailand. Asian Administration and Management Review, 5(2), 1-11.
Danesi, M. (2006). Perspectives on youth culture. Pearson Education.
Daniel III, J. F., & Musgrave, P. (2017). Synthetic experiences: How popular culture matters for images of international relations. International Studies Quarterly, 61(3), 503-516.
Dusek, V. (2006). Philosophy of technology: An introduction. Blackwell.
Erlingsson, C., & Brysiewicz, P. (2017). A hands-on guide to doing content analysis. African Journal of Emergency Medicine, 7, 93-99.
Friedberg, A. L. (1994). The future of American power. Political Science Quarterly, 109(1), 1-22.
Galloway, L. (2018, July 2). The five countries that set world culture. BBC. https://www.bbc.com/travel/article/20180701-the-five-countries-that-set-world-culture
Gerbner, G. (1969). Toward ‘cultural indicators’: the analysis of mass-mediated public message systems. AV Communication Review, 17, 137-148.
Glicken, M. D. (2007). Social work in the 21st century: An introduction to social welfare, social issues, and the profession. Sage.
Hill, R. (1998). What sample size is ‘enough’ in internet survey research?. Interpersonal Computing and Technology: An Electronic Journal for the 21st Century, 6(3-4). http://cadcommunity.pbworks.com/f/what%20sample%20size.pdf
Hjarvard, S. (2008). The mediatization of society: A theory of the media as agents of social and cultural change. Nordicom Review, 29(2), 105-134.
Hoops, J. F., & Drzewiecka, J. A. (2017). Critical perspectives toward cultural and communication research. Oxford Research Encyclopedia of Communication. https://doi.org/10.1093/acrefore/9780190228613.013.175
Hymes, D. (1974). Foundations in sociolinguistics: An ethnographic approach. Tavistock Publications.
Kaasa, A., & Minkov, M. (2020). Are the world’s national cultures becoming more similar?. Journal of Cross-Cultural Psychology, 51(7-8), 531-550.
Kho Suet, N., Kee, C. P., & Ahmad, A. L. (2014). Mediatization: A grand concept or contemporary approach?. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 155, 362-367.
Lertchoosakul, K. (2021). The white ribbon movement: High school students in the 2020 Thai youth protests. Critical Asian Studies, 53(2), 206-218.
Lopattananont, T. (2021). The role of entertainment media in promoting culture: The case of Japanese cartoons and superhero TV series in 80s-90s Thai society. Manusya: Journal of Humanities, 24, 390-408.
Mankekar, P. (2015). Popular culture. In J. D. Wright (Ed.), International Encyclopedia of the Social & Behavioral Sciences (2nd ed., pp. 528-532). Elsevier.
Martin, J. N., & Nakayama, T. K. (2021). Intercultural communication in contexts (8th ed.). McGraw-Hill Higher Education.
McQuail, D. (2010). McQuail’s mass communication theory (6th ed.). Sage.
Meechunek, K. (2017). Using social media affecting lifestyle and social behaviors of generation Y in Bangkok metropolitan, Thailand. PSAKU International Journal of Interdisciplinary Research, 6(2), 103-110.
Nye, J. S. (2010). The future of American power: Dominance and decline in perspective. Foreign Affairs, 89(6), 2-12.
Phornprapha, J., & Podsatiangool, W. (2019). Beyond otaku community to global business: Manga in academia – a literature review. International Journal of East Asian Studies, 23(2), 400-416.
Pimentel, J. (2010). A note on the usage of Likert scaling for research data analysis. USM R&D, 18(2), 109-112.
Popping, R. (2015). Analyzing open-ended questions by means of text analysis procedures. Bulletin de Methodologie Sociologique, 128, 23-39. https://doi.org/10.1177/0759106315597389
Prasannam, N. (2019). The yaoi phenomenon in Thailand and fan/industry interaction. Plaridel Journal of Communiction, Media, and Society, 16(2), 63-89.
Roscoe, J.T. (1975). Fundamentals research statistics for behavioral sciences (2nd ed.). Holt Rinehart & Winston.
Sawangchot, V. (2016). Rebel without causes: The 1960s Thai pop music and Bangkok youth culture. Journal of Communication Studies, 3(2), 1-8.
Siriyuvasak, U. (2004). Popular culture and youth consumption: Modernity, identity and social transformation. In K. Iwabuchi (Ed.), Feeling Asian modernities transnational consumption of Japanese TV dramas (pp. 177-202). Hong Kong University Press.
Spencer-Oatey, H. (2012). What is culture?: A compilation of quotations. GlobalPAD Core Concepts. https://warwick.ac.uk/fac/soc/al/globalpad-rip/openhouse/interculturalskills_old/core_concept_compilations/global_pad_-_what_is_culture.pdf
Spencer-Oatey, H. (2021). What is culture?: A compilation of quotations for the intercultural field. Global People Consulting. https://globalpeopleconsulting.com/what-is-culture
Sumetchanthasiri, P., Polyiam, N., & Kraisin, I. (2020). Effect on social media: Its impacts on Thai education. Academic MCU Buriram Journal, 5(1), 248-261.
Thongprayoon, B., & Hill, L. B. (1996). U. S. mass media and Thai society. Intercultural Communication Studies, 5(1), 53-74.
Ting-Toomey, S., & Chung, L. C. (2012). Understanding intercultural communication (2nd ed.). Oxford University Press.
Tsirogianni, S., Sammut, G., & Park, E. (2014). Social values and good living. In A. C. Michalos (Ed.), Encyclopedia of Quality of Life and Well-Being Research (pp. 6187-6190). Springer.
U. S. News. (n. d.). Cultural influence. U. S. News. https://www.usnews.com/news/best-countries/influence-rankings
Valkenburg, P. M., & Oliver, M. B. (2019). Media effects: An overview. In M. B. Oliver, A. A. Raney, & J. Bryant (Eds.), Media effects: Advances in theory and research (4th ed., pp. 16-35). Routledge.
Van Acker, V. (2015). Defining, measuring, and using the lifestyle concept in modal choice research. Transportation Research Record, 2495(1), 74-82.