การศึกษาประเพณีส่งเรือมังกรหลวงของจีนในบริบทคติชนวิทยาเชิงนิเวศ

Main Article Content

สุภินดา รัตนตั้งตระกูล

บทคัดย่อ

บทความวิจัยชิ้นนี้มุ่งศึกษาประเพณีส่งเรือมังกรหลวงของจีนโดยใช้ทฤษฎีคติชนวิทยาเชิงนิเวศในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางนิเวศวิทยา ความเชื่อ และความหมายแฝงทางวัฒนธรรมของประเพณีส่งเรือมังกรหลวง ผลการศึกษาพบว่า ประเพณีส่งเรือมังกรหลวงมีที่มาจากปัจจัยสามประการ ได้แก่ ปัจจัยด้านนิเวศวิทยาธรรมชาติ นิเวศวิทยาสังคม และนิเวศวิทยาจิตวิญญาณ มุมมองด้านคติชนวิทยาเชิงนิเวศที่สะท้อนผ่านประเพณีส่งเรือมังกรหลวงนี้ สะท้อนให้เห็นจากการอยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืนระหว่างมนุษย์ธรรมชาติ และสังคม โดยมนุษย์เรียนรู้ที่จะปรับตัวตามวัฏจักรของธรรมชาติ และมีความยำเกรงต่อ “ชีวิต” ตระหนักรู้ว่าชีวิตของตนและธรรมชาติมีชะตากรรมร่วมกัน คุณค่าของการศึกษาประเพณีส่งเรือมังกรหลวงในบริบทคติชนวิทยาเชิงนิเวศวิทยานี้จักเป็นประโยชน์ในการกำหนดเงื่อนไข มาตรฐานความคิด และพฤติกรรมของมนุษย์ที่มีต่อธรรมชาติ ทั้งยังช่วยกระตุ้นจิตสำนึกของมนุษย์ในการปกป้องระบบนิเวศ นับเป็นการส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และธรรมชาติให้อยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืนกัน

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
รัตนตั้งตระกูล ส. (2022). การศึกษาประเพณีส่งเรือมังกรหลวงของจีนในบริบทคติชนวิทยาเชิงนิเวศ . วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22(3), 371–394. https://doi.org/10.14456/lartstu.2022.45
บท
บทความวิจัย

References

คณะกรรมการสืบค้นประวัติศาสตร์ไทยในเอกสารภาษาจีน สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2543). เกณฑ์การถ่ายถอดเสียงภาษาจีนแมนดารินด้วยอักขรวิธีไทย. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

ธัญญา สังขพันธานนท์, และ ลาวัณย์ สังขพันธานนท์. (2561). คติชนสีเขียว:การศึกษาคติชนวิทยาในมุมมองของการวิจารณ์เชิงนิเวศ. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, 24(3), 3-30.

Müller, F. M. (2020). Lectures on the Origin and Growth of Religion as Illustrated by the Religions of India. Delivered in the chapter house, Westminster Abbey.

Sponsel, L. E. (2012). Spiritual Ecology: A Quiet Revolution. Praeger.

UNESCO. (2020). Ong Chun/Wangchuan/Wangkang ceremony, rituals and related practices for maintaining the sustainable connection between man and the ocean. https://ich.unesco.org/en/RL/ong-chun-wangchuan-wangkang-ceremony-rituals-and-related-practices-for-maintaining-the-sustainable-connection-between-man-and-the-ocean-01608?RL=01608

蔡亚约. (1937). 闽台送王船. 鹭江出版社, 12.

陈榕三. (2001). 闽台航运史的史料探索. 现代台湾研究(06), 35-39.

福建日报. (2021). 遗世“船”说. https://fjrb.fjdaily.com/pc/con/202112/30/content_146763.html

福建省人民政府. (2011). 生态“优等生”再交新答卷. http://www.fujian.gov.cn/zwgk/ztzl/gjcjgxgg/dt/202206/t20220601_5923074.htm

郭凌翔. (2019). “互联网”+ 背景下非遗文化的多元化传承——以“闽台送王船”民俗活动为例.福建史志(02), 28.

郭学松, 陈上越 & 吴祖会. (2016). 乡土社会仪式中的身体运动研究. 南京体育学院学报(社会科学版)(02), 22-28.

江帆. (2003). 生态民俗学. 黑龙江人民出版社, 16-17.

姜守诚. (2011). 明代《武陵竞渡略》检视闽台“送王船”习俗的历史传统. 世界宗教研(04), 75-87.

李玉昆. (2021). 泉州富美宫“金庆顺”号王船文件解读. 闽台缘(04), 34-40.

廖大珂. (2011). 略论厦门的“送王船”信仰. 鹭江出版社, 239-245.

林国平. (2007). 福建古代海神信仰的发展演变. 福建省首届海洋文化学术研讨会论文集, 254-264.

孟子等. (2009). 四书五经. 中华书局, 247.

牛庆燕. (2010). 重建生态平衡:自然生态—社会生态—精神生态. 中国石油大学学报 (社会科学版) (02), 77-81.

彭维斌. (2016). 从厦门港“送王船”习俗看海洋文化遗产的当代价值与保护利用. 福建文博, 29-30.

任法融. (2012). 道德经释义. 东方出版社, 61.

人民网. (2020). 非遗项目王船制造技艺漫谈. http://fj.people.com.cn/n2/2020/0318/c181466-33885914.html

乌丙安. (2001). 民俗文化新论. 辽宁大学出版社, 2-7.

徐兢. (1937). 宣和奉史高丽图经. 商务印书馆, 119.

徐庆红. (2006). 从闽台地区“送王船”习俗看社会的历史记忆功能——以厦门海沧区新垵村为个案. 闽台文化交流(04), 93-97.

杨嗣昌撰、梁颂成辑校. (2005). 杨嗣昌集•附录二.岳麓书社, 1468-1479.

野木宽一. (1987). 生态民俗学序说. 白水社, 17.

曾少聪. (1999). 闽南地区的海洋民俗. 中国社会经济史研究(04), 44-48.

张燮. (1610). 东西洋考 (共十二卷). 明万历四十六年 (1610) 王起宗刊本. 216.

赵世瑜. (1996). 中国传统庙会中的狂欢精神. 中国社会科学(01), 183-196.

郑镛. (2018). 闽南送王船琐谈. 闽台缘(02), 35-39.

中国新闻网. (2021). “送王船”列入人类非物质文化遗产代表作名录. http://www.fj.chinanews.com.cn/news/2021/2021-07-13/487270.html

钟敬文. (1998). 民俗学概论. 上海文艺出版社, 1.

朱鹏. (2021). 宗教人类学视野下送王船仪式研究. 红河学院学报(05), 60-64.