กรุงเทพฯ เมืองสุขภาพดี : พื้นที่สุขภาวะมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กับการสร้างวิถีชีวิตทางสุขภาพของคนเมือง

Main Article Content

ชลวิทย์ เจียรจิตต์

บทคัดย่อ

ท่ามกลางสังคมเสี่ยงภัย สุขภาวะถือเป็นประเด็นสำคัญในปัจจุบันที่จะต้องมีการทำความเข้าใจโดยการอาศัยมุมมองทางสังคมวิทยาและวิทยาศาสตร์ สุขภาพ ประกอบกับความเสี่ยงทางพื้นที่สาธารณะที่ลดน้อยลงส่งผลให้คนเมืองกำลังเผชิญกับอุปสรรคในการมีพื้นที่สุขภาวะเพื่อแสดงออกถึงวิถีชีวิตทางสุขภาพในช่วงเวลาว่าง การศึกษานี้จึงดำเนินการตามแนวทางการศึกษาแบบอัตชาติพันธุ์วรรณนาเป็นหลักเพื่อพยายามทำความเข้าใจวิถีชีวิตทางสุขภาพในพื้นที่สุขภาวะและถอดบทเรียนการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าวิถีชีวิตทางสุขภาพดำรงอยู่ระหว่างความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางสังคมและการรับรู้สถานะสุขภาพด้วยการประเมินสถานะสุขภาพตามอย่างวิทยาศาสตร์สุขภาพ และขึ้นอยู่กับเวลาว่างในชีวิตประจำวัน การพัฒนาพื้นที่สุขภาวะจึงพยายามพัฒนาให้ตอบสนองต่อวิถีชีวิตทางสุขภาพซึ่งจะต้องอาศัยทุนสำคัญ 2 ประการ คือ ทุนเชิงพื้นที่ และทุนทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นปัจจัยสำคัญทำให้การพัฒนาพื้นที่สุขภาวะพัฒนาต่อไปได้

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
เจียรจิตต์ ช. (2023). กรุงเทพฯ เมืองสุขภาพดี : พื้นที่สุขภาวะมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กับการสร้างวิถีชีวิตทางสุขภาพของคนเมือง. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23(1), 278–297. https://doi.org/10.14456/lartstu.2023.12
บท
บทความวิจัย

References

จิราพร เหล่าเจริญวงศ์. (2564). พื้นที่ศึกษาในมุมมานุษยวิทยา: มโนทัศน์และวิธีวิทยา. ใน ยุกติ มุกดาวิจิตร, และ ชัชชล อัจนากิตติ (บรรณาธิการ), มานุษยวิทยาพ้นมนุษย์ (น. 186-226). ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

ธนัช กนกเทศ. (2559). สังคมวิทยาสาธารณสุข. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

แผนงานสนับสนุนการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตการทำงานองค์กรภาครัฐ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2562). HAPPY 8 หรือความสุข 8 ประการ. https://happy-worklife.com/detail?tool_id=43

พัชรินทร์ สิรสุนทร, วัชรพล พุทธรักษา, และกันตพัฒน์ อนุศักดิ์เสถียร. (2563). การโค้ชกับการสื่อสารเชิงสัญญะเพื่อปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 20(2), 82-103.

ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์, และ อภิวัฒน์ รัตนวราหะ. (2563). การตายในเมือง. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.).

อดิศักดิ์ กันทะเมืองลี้. (2562). อะไรคือ ‘พื้นที่สาธารณะ’ กันแน่. https://theurbanis.com/public-realm/06/12/2019/204?fbclid=IwAR3m_Blai-p2YYIH98kX8LVirCorg1MsPC_lxgKekK6ykYWIB3YQX6xt2OI

อัมพร จิรัฐติกร. (2558). พื้นที่สาธารณะข้ามชาติ การเมืองเรื่องพื้นที่ของแรงงานอพยพไทใหญ่ในจังหวัดเชียงใหม่. ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Benkő, Z. (2017). Healthy Leisure and Leisureful Health: Introductory ‘State of the Art’. In Z. Benkő, I. Modi, & K. Tarkó (Eds.), Leisure, Health, and Well-being (pp. 1-8). Palgrave Macmillan.

Blaxter, M. (2003). Biology, Social Class and Inequalities in Health: Their Synthesis in “health capital”. In S. J. Williams, L. I. A. Birke, &, G. Bendelow (Eds.), Debating Biology: sociological reflections on health, medicine, and society (pp. 69-83). Routledge.

Chae, M., & Han, K. (2021). Differences in Health Behavior Profiles of Adolescents in Urban and Rural Areas in a Korean City. Healthcare, 2021(9), 282-289.

Chan, J. K. H., & Zhang, Y. (2021). Sharing Space: Urban Sharing, Sharing a Living Space, and Shared Social Spaces. Space and Culture, 24(1), 157-169. https://doi.org/10.1177/1206331218806160

Cockerham, W. C. (2020). Sociological Theories of Health and Illness. Routledge.

Fitzpatrick, K. M., & LaGory, M. (2003). “Placing” Health in an Urban Sociology: Cities as Mosaics of Risk and Protection. City & Community, 2(1), 33-46.

Larsen, J. (2014). (Auto) Ethnography and cycling. International Journal of Social Research Methodology, 17(1), 59-71.

Nutbeam, D. (2000). Health literacy as a public health goal: a challenge for contemporary health education and communication strategies into the 21st century. Health Promotion International, 15(3), 259-267.

World Health Organization. (2015). Healthy cities: good health is good politics: toolkit for local governments to support healthy. https://www.who.int/publications/i/item/WPR-2015-DNH-004