ภาพแทนความเป็นจีนในนวนิยายเรื่อง คนตายยาก ของหยูหัว

Main Article Content

ฉียูน เจียง
ธนพร หมูคำ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพแทนความเป็นจีนในนวนิยายเรื่อง คนตายยาก ของหยูหัว โดยใช้แนวคิดภาพแทน แนวคิดสัญญะวิทยา และแนวคิดสตรีนิยม ผลการศึกษาพบว่า ภาพแทนความเป็นจีนใน นวนิยายเรื่อง คนตายยาก ของหยูหัว ได้แก่ ภาพแทนการให้คุณค่าแก่สถาบันครอบครัว ภาพแทนการแก้ไขปัญหาและการให้โอกาส ภาพแทนการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ และภาพแทนอุปนิสัยและบทบาทหน้าที่ของสตรีชาวจีน ภาพแทนดังกล่าวที่นำเสนอผ่านบทบาทตัวละคร เหตุการณ์ และการดำเนินเรื่องในนวนิยายเรื่อง คนตายยาก ของหยูหัว ล้วนแสดงให้เห็นถึงคุณค่าของชีวิต และส่งผลให้สังคมจีนเข้าสู่อุดมการณ์ที่สร้างความเสมอภาคทางสังคมและมีความเท่าเทียมกันระหว่างชายและหญิง รวมถึงอุดมการณ์การพัฒนาคุณภาพของชีวิตแก่ประชาชนด้วย

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
เจียง ฉ., & หมูคำ ธ. . (2023). ภาพแทนความเป็นจีนในนวนิยายเรื่อง คนตายยาก ของหยูหัว. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23(2), 318–341. https://doi.org/10.14456/lartstu.2023.42
บท
บทความวิจัย

References

ธนพร หมูคำ. (2560). เวียดนาม ลาว อินโดนีเซีย: ภาพตัวแทนประชาคมอาเซียนในวรรณกรรมอาเซียน. ใน ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช (บรรณาธิการ), รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ลําปางวิจัย ครั้งที่ 3 “บูรณาการนวัตกรรมและการวิจัยสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน” (น. 184-195). สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.

ธนพร หมูคำ. (2562). การประกอบสร้างภาพแทนสตรีในวรรณกรรมอาเซียนกับบทบาททางการเมือง. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์, 6(2), 116-128.

นัดดา ธนทาน. (2556). การวิเคราะห์ศึกษาภาพเขียนมนุษย์ของทวีศักดิ์ ศรีทองดี ระหว่างปี พ.ศ 2540-2554 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร]. SURE.

รัตนาภรณ์ เหล่ายิ่งเจริญ. (2553). อดีตที่เล่าใหม่: การวิพากษ์สังคมและการเมืองจีนในนวนิยายยุคหลังการปกครองของเหมาเจ๋อตง [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository.

ศิริชัย ศิริกายะ และ กาญจนา แก้วเทพ. (2531). ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะนิเทศศาสตร์.

สุรเดช โชติอุดมพันธ์. (2560). ทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์ตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

หยูหัว. (2552). คนตายยาก (รำพรรณ รักศรีอักษร, ผู้แปล). สำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์เอโนเวล.

อัจฉรา เทพเกษตรกุล. (2553). อุปสรรคและความหมายของการมีชีวิตอยู่และการตายจาก จากหนังสือ คนตายยาก ของหยูฮว่า. วารสารจีนศึกษา, 3(3), 89-101.

Beauvoir, S. (1974). The Second Sex (H. M. Parshley, Trans). Vintage Books.

Hu, J. (2019, May 9). 余华笑谈《活着》畅销二十余年: 感谢语文老师. China News Service. https://www.chinanews.com/cul/2019/05-09/8832579.shtml

Fang, A. (2016). The Construction of the Image of China in a Transcultural Framework Based on Case Studies of Wang Meng, Mo Yan and Yu Hua [Doctoral dissertation]. Zhejiang University.

Hall, S. (1997). The Work of Representation. In S. Hall (Ed.), Representation: Cultural representations and signifying practices (pp.13-74). Sage.

Hu, P., & Zhang, M. (2017). 礼记. 中华书局.

Liu, Y. (2021). Narrative Evolution of Huozhe by Yu Hua and Its Significance in Literary History. Journal of Yangzhou University (Humanities & Social Sciences), 25(3), 25-38.

Shu, M. (2019). 论余华小说《活着》中的死亡与荒诞.大众文艺. 2019(7), 43.

The National People’s Congress of the People's Republic of China (2018). 中华人民共和国宪法. http://www.npc.gov.cn/npc/c505/xianfa.shtml

Tong, R. P. (2002). 女性主义思潮导论 (艾晓明等, Trans). 华中师范大学出版社. (Original work published 1998).

Wang, G. (2018). The Extraterritorial Dissemination of YU Hua's Novels and the Construction of Chinese Images. Yangtze Jiang Literary Review, 4, 106-109.

Xu, Y. (2562). การวิเคราะห์ตัวละครในนวนิยายแปลของหยูหัว [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Yin, D. (2021). Exploration of the Chinese Road of Women’s Liberation: Women’s Movement in the Early Days of CPC. Social Sciences in Chinese Higher Education Institutions, 3, 22-31.

Yu, H. (2017). 活着. 北京十月文艺出版社.