วาทะพุทธทาสภิกขุ… “คนดีสำคัญกว่าทุกสิ่ง” …กับการแนะแนว
Main Article Content
บทคัดย่อ
พุทธทาสภิกขุเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษาที่ให้คุณค่าของ “คนดีสำคัญกว่าทุกสิ่ง” อย่างยิ่งด้วยเล็งเห็นว่า แก่นสารของความเป็นคนดีเป็นเครื่องมือที่ช่วยผดุงสังคมให้อยู่รอดทั้งในสภาพปัจจุบันและอนาคต บทความนี้มุ่งนำเสนอให้เห็นความสำคัญของ “คนดีสำคัญกว่าทุกสิ่ง” ที่มีผลต่อการขับเคลื่อนพัฒนาประเทศ “คนดีสำคัญกว่าทุกสิ่ง”ตามแนวคิดของพุทธทาสภิกขุ และวาทะพุทธทาสภิกขุกับการแนะแนวเพื่อปฏิบัติตนไปสู่ความเป็น “คนดีสำคัญกว่าทุกสิ่ง” การปฏิบัติไปสู่ “วาทะคนดี สำคัญกว่าทุกสิ่ง” จะสามารถใช้แก้ปัญหาในวงการศึกษา ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาสังคม และปัญหาการเมืองได้
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรมการศาสนา. (2525). พระไตรปิฎกไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ 11 สุตตันตปิฎก ทีฆนิกายปาฏิกวรรค. โรงพิมพ์การศาสนา.
กรมการศาสนา. (2525). พระไตรปิฎกไทย (ฉบับหลวง) เล่มที่ 15 พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค. โรงพิมพ์การศาสนา.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2553). เหลียวหลัง 75 ปี แลหน้า 75 ปี. วารสารพุทธศาสนา, 38(3), 41-51.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2540). ธัมมวจนโวหารไทย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พนม ลิ้มอารีย์. (2548). การแนะแนวเบื้องต้น. โอเดียนสโตร์.
พุทธทาสภิกขุ. (2518). ก ข ก กา ของการศึกษาพุทธศาสนา. ธรรมทานมูลนิธิ.
พุทธทาสภิกขุ. (2519). การกลับมาของศีลธรรม. ธรรมทานมูลนิธิ.
พุทธทาสภิกขุ. (2520). ความลับของชีวิต. ธรรมสภา.
พุทธทาสภิกขุ. (2534). การอยู่เหนือกรรม. ธรรมสภา.
พุทธทาสภิกขุ. (2538). พุทธทาส สวนโมกขพลาราม กำลังแห่งการหลุดพ้น. ภาพการพิมพ์.
พุทธทาสภิกขุ. (2548). เทคนิคการมีธรรมะ เล่ม 1 ศีลธรรมกลับมา (พิมพ์ครั้งที่ 2). ธรรมทานมูลนิธิ.
พุทธทาสภิกขุ. (2551). ทางออกที่ 3 ของโลกปัจจุบัน. วารสารพุทธศาสนา, 76(2), 88-99.
พุทธทาสภิกขุ. (2552). จงใช้ธรรมะแก้ปัญหาสังคม. วารสารพุทธศาสนา, 77(3), 5-15.
พุทธทาสภิกขุ. (2554). แก่นพุทธศาสน์ (ฉบับสมบูรณ์). ธรรมสภา.
พุทธทาสภิกขุ. (2554). แก่นแห่งความว่าง ใจความสำคัญของหนังสือธรรมโฆษณ์ชุดสุญญตา ปริทรรศน์ เล่ม 1 และเล่ม 2 ของพุทธทาสภิกขุ. ธรรมสภา.
พุทธทาสภิกขุ. (2555). การมีอายุครอบรอบปี...เป็นเช่นนั้นเอง. ธรรมสภา.
พุทธทาสภิกขุ. (2561). ปณิธาน 3 ประการ. สุขภาพใจ.
พุทธทาสภิกขุ. (2561). พุทธทาสลิขิตข้อธรรม: บันทึกนึกได้เอง. แปลนรีดเดอร์ส.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. https://www.nesdc.go.th/ewt_news.php?nid=6420&filename=develop_issue#
โสรีช์ โพธิแก้ว. (2532). สารนิพนธ์พุทธทาสว่าด้วยการศึกษา. มูลนิธิโคมทอง.
พระไพศาล วิสาโล. (2555). สืบสานปณิธานของท่านพุทธทาสภิกขุ. ใน จดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ (ผู้เรียบเรียง), อยู่ใน ใจเหนือ เกื้อโลก : เมกะเทรนด์-เมกะธรรม 80 ปี สวนโมกข์ ควรคิดอ่านทำอะไร ? อย่าให้พุทธทาสร้องไห้ (น. 35-37). ธรรมสภา.