ระบบแม่ : ความสัมพันธ์ทางสังคมของชุมกะเทยคาบาเรต์โชว์ในสังคมไทยและเยอรมัน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ระบบความสัมพันธ์ทางสังคมของปัจเจกกะเทยในชุมกะเทยคาบาเรต์โชว์ ในสังคมไทยและเยอรมัน โดยประยุกต์ใช้วิธีวิทยาฐานรากเชิงประกอบสร้าง เก็บข้อมูลกับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกะเทยคาบาเรต์โชว์ จำนวน 21 ราย ทั้งในประเทศไทย และประเทศเยอรมนี ผลการศึกษาพบว่า ระบบความสัมพันธ์ทางสังคมของปัจเจกกะเทย หรือที่เรียกว่า “ระบบแม่” เป็นกลไกทางสังคม ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อช่วยเหลือ ปกป้อง และลงโทษปัจเจกกะเทยที่เป็นสมาชิกในชุมกะเทย ในลักษณะของการใช้อำนาจผ่านระบบความสัมพันธ์ทั้งแนวดิ่งและแนวราบ
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กฤตยา อาชวนิจกุล. (2554). เพศวิถีที่กำลังเปลี่ยนแปลงไปในสังคมไทย. ใน สุรีย์พร พันพึ่ง และมาลี สันภูวรรณ์ (บรรณาธิการ), ประชากรและสังคม 2554: จุดเปลี่ยนประชากร จุดเปลี่ยนสังคมไทย (น. 43-66). สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, มหาวิทยาลัยมหิดล.
กัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2560). กระบวนการผลิตสร้างกะเทยคาบาเร่ต์ในเมืองพัทยา [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยบูรพา.
เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2558). วิธีวิทยาทางการเมือง Antonio Negri: ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม และการปฏิวัติของ Multitude. วารสารสังคมศาสตร์, 27(1), 15-47.
เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2560ก). Autonomia: ทุนนิยมความรับรู้ แรงงานอวัตถุและการปฏิวัติของส่วนรวม. Illuminations Editions.
เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2560ข). เริ่มต้นใหม่จากจุดเริ่มต้นทฤษฎีมาร์กซิสต์ในศตวรรษที่ 12. ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ, คณะสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ชญาน์ทัต ศุภชลาศัย. (2560). ‘สลาวอย ชิเชค VS เกรแฮม ฮาแมน’: วิวาทะปรัชญาร่วมสมัย. วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 47(2), 149-176.
ชาย โพธิสิตา. (2562). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ: คู่มือนักศึกษาและนักวิจัยสังคมศาสตร์ ฉบับปรับปรุงใหม่ เพิ่มเนื้อหา (พิมพ์ครั้งที่ 8). อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ฐานิดา บุญวรรโณ. (2563). หมุนนาฬิกาสู่เวลาทางสังคม. Illuminations Editions.
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2553). ขบวนการเคลื่อนไหวของเกย์ในสังคมไทย ภาคปฏิบัติการและกระบวนทัศน์ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2556). เพศหลากหลายในสังคมไทยกับการเมืองของอัตลักษณ์. วารสารสังคมศาสตร์, 25(2), 137-168.
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2560). เพศในเขาวงกต: แนวคิดทฤษฎีเพศในวัฒนธรรมบริโภค. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
บุษกร สุริยสาร. (2557). อัตลักษณ์และวิถีทางเพศในประเทศไทย. องค์การแรงงานระหว่างประเทศ.
เปรมปรีดา ปราโมช ณ อยุธยา. (2546). การช่วงชิงอัตลักษณ์ “กะเทย” ในงานคาบาเรต์โชว์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เปรมปรีดา ปราโมช ณ อยุธยา. (2547). พลวัตภายใน ‘ลีลาชีวิตเรื่องเพศแบบกะเทย’. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 21(2), 93-113.
เปรมปรีดา ปราโมช ณ อยุธยา. (2549). กะเทยเย้ยเวที. มติชน.
เปรมปรีดา ปราโมช ณ อยุธยา. (2550). The Dynamics of ‘Kathoei Sexuality’ in Modern Thailand. ใน ขวัญชีวัน บัวแดง, และ อภิญญา เฟื่องฟูสกุล (บรรณาธิการ), ข้ามขอบฟ้า 60 ปี ชิเกฮารุ ทานาเบ (น. 215-233). ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
พรเทพ แพรขาว. (2551). ประสบการณ์ชีวิตทางด้านสุขภาพทางเพศของชายรักเพศเดียวกันในชุมชนอีสาน [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พรเทพ แพรขาว. (2556). ผู้สาวหน้าฮ้านหมอลำ ความสัมพันธ์ระหว่างกะเทยและผู้ชายในคอนเสิร์ตหมอลำอีสาน. ใน นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ, และ ปีเตอร์ เอ. แจ็คสัน (บรรณาธิการ), เพศ หลากเฉดสี: พหุวัฒนธรรมทางเพศในสังคมไทย (น. 60-85). ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน).
พรเทพ แพรขาว, และ เกษราวัลณ์ นิลวรางกูร. (2552). ชีวิตและสุขภาพของกะเทยอีสานในคณะหมอลำ. คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พัชรินทร์ สิรสุนทร. (2558). ความรู้ อำนาจ และสุขภาพ: จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิชัย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2555). บทวิจารณ์หนังสือ ระเบียบวิธีทฤษฎีฐานราก (Grounded theory). วารสารพัฒนาสังคม, 14(2), 101-110.
วีระยุทธ ปีสาลี. (2557). กรุงเทพฯ ยามราตรี. มติชน.
ศุภลักษณ์ ผาดศรี, และ วิไลวรรณ มณีจักร สโนว์. (2555). วิธีการวิจัยแบบสร้างทฤษฎีจากข้อมูล (Grounded theory methodology). วารสารกิจกรรมบำบัด, 17(3), 30-37.
สุไลพร ชลวิไล. (2550). เพศไม่นิ่ง: ตัวตน เพศภาวะ เพศวิถี ในมิติสุขภาพ. ภาคีความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้านเพศภาวะ เพศวิถี และสุขภาพ.
สุไลพร ชลวิไล. (2551). กะเทย. ใน พิมพวัลย์ บุญมงคล, สุไลพร ชลวิไล, มลฤดี ลาพิมล และรณภูมิ สามัคคีคารมย์ (บรรณาธิการ), ภาษาเพศในสังคมไทย: อำนาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ (น. 151-164). ภาคีความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้านเพศภาวะ เพศวิถี และสุขภาพ.
Charmaz, K. (2006). Constructing grounded theory: A practical guide through qualitative analysis. SAGE.
Charmaz, K. (2008a). Grounded theory as an emergent method. In S. N. Hesse-Biber & P. Leavy (Eds.), Handbook of emergent methods (pp. 155-172). The Guilford Press.
Charmaz, K. (2008b). Grounded theory: Objectivist and constructivist methods. In J. A. Holstein & J. F. Gubrium (Eds.), Handbook of constructionist research (pp. 397-412). The Guilford Press.
Charmaz, K. (2013). Grounded theory for qualitative research: A practical guide. SAGE.
Chua, J. L. (2015). The vernacular mobilization of human rights in Myanmar’s sexual orientation and gender identity movement. Law & Society Review, 49(2), 229-332.
Chua, J. L., & Gilbert, D. (2015). Sexual orientation and gender identity minorities in transition: LGBT rights and activism in Myanmar. Human Rights Quarterly, 37(1), 1-28.
Colebrook, C. (2010). Deleuze and the meaning of life. Continuum.
Collier, S. J., & Ong, A. (2005). Global assemblages, anthropological problems. In S. J. Collier & A. Ong (Eds.), Global assemblages: Technology, politics, and ethics as anthropological problems (pp. 3-21). Blackwell Publishing.
DeLanda, M. (2000). A thousand years of nonlinear history. Swerve Editions.
DeLanda, M. (2002). Intensive science and virtual philosophy. Bloomsbury Academic.
DeLanda, M. (2006a). A new philosophy of society: Assemblage theory and social complexity. Continuum.
DeLanda, M. (2006b). Deleuzian social ontology and assemblage theory. In M. Fuglsang & B. M. Sørensen (Eds.), Deleuze and the social (pp. 250- 266). Edinburgh University Press.
DeLanda, M. (2010). Deleuze: History and science. Atropos Press.
DeLanda, M. (2016). Assemblage theory. Edinburgh University Press.
Deleuze, G., & Guattari, F. (2005). A thousand plateaus: Capitalism and schizophrenia (B. Massumi, Trans.). The University of Minnesota Press. (Original work published 1980).
Harman, G. (2002). Tool-being: Heidegger and the metaphysics of objects. Carus Publishing Company.
Ho, C. T. (2009). Transgender, transgression, and translation: A cartography of Nat Kadaws, notes on gender and sexuality within the spirit cult of Burma. Discourse, 31(3), 273-317.
Jackson, A. P. (1995). Dear Uncle Go: Male homosexuality in Thailand. Bua Luang Books.
Jackson, A. P. (1999). Tolerant but unaccepting: The myth of Thai ‘gay paradise’. In P. A. Jackson & M. N. Cook (Eds.), Gender and sexualities in modern Thailand (pp. 226-242). O.S. Printing House.
Jackson, A. P. (2011). Capitalism, LGBT activism, and queer autonomy in Thailand. In P. A. Jackson (Ed.), Queer Bangkok: twenty first century markets, media, and rights (pp. 195-204). Hong Kong University Press.
Jackson, A. P. (2016). First queer foices from Thailand: Uncle Go’s advice columns for gays, lesbians and kathoeys. Hong Kong University Press.
Jackson, P. A. & Sullivan, G. (Eds.). (2000). Lady boy, tom boy, rent boys: Male and female homosexualities in contemporary Thailand. Silkworm Books.
Lawrence, J., & Tar, U. (2013). The use of grounded theory technique as a practical tool for qualitative data collection and analysis. The Electronic Journal of Business Research Methods, 11(1), 29-40.
Shannak, R. O., & Aldhmour, F. M. (2009). Grounded theory as a methodology for theory generation in information systems research. European Journal of Economics, Finance and Administrative Sciences, 15(2009), 32-50.
Spiro, M. E. (1967). Burmese supernaturalism. Institute for the Study of Human Issues.
Totman, R. (2003). The third sex: kathoey-Thailand’s lady boys. Souvenir Press.
Waiyawan, L. (2009). Sexuality and sexual agency of Kathoey living with HIV/AIDS in I-Saan, Thailand [Unpublished master thesis]. Mahidol University.