การยกระดับมาตรฐานปลอดภัยด้านสุขอนามัยการท่องเที่ยวที่พักชุมชนวัฒนธรรมยั่งยืนหลังสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศไทย

Main Article Content

ดารณี อาจหาญ
เกิดศิริ เจริญวิศาล
มนัสสินี บุญมีศรีสง่า

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจแนวทางการจัดการมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัยของที่พักชุมชนวัฒนธรรม ตามหลักเกณฑ์ด้านสาธารณสุขการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อหาข้อสรุปเชิงทฤษฎีที่นำไปสู่การสร้างทฤษฎีฐานราก (Grounded Theory) โดยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) จำนวน 22 คน โดยใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ตัวแทนชุมชนโฮมสเตย์ที่ได้รับรองมาตรฐาน SHA จำนวน 11 คน เจ้าหน้าที่องค์กรสนับสนุนวิสาหกิจชุมชนมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย (SHA) จำนวน 5 คน และเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐที่มีความรู้เกี่ยวกับการประเมินมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย (SHA) ในแหล่งท่องเที่ยวชุมชน จำนวน 6 คน การวิจัยนี้เพื่อสังเคราะห์ให้ได้ข้อสรุปเชิงทฤษฎีและเสนอแนวปฏิบัติมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย (Amazing Thailand Safety and  Health Administration : SHA) ในการยกระดับการท่องเที่ยวที่พักชุมชนวัฒนธรรม ผลการวิจัยพบว่า 1) รับรู้ถึงประโยชน์และความสำคัญของการปรับปรุงมาตรฐานเกณฑ์ด้านความสะอาดและสุขอนามัย 2) แนวปฏิบัติของแหล่งท่องเที่ยวที่พักชุมชมสัมผัสวัฒนธรรมมาตรฐานปลอดภัยด้านสุขอนามัยป้องกันเชื้อโควิด-19 3) ยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัยเพื่อการท่องเที่ยว ซึ่งผลการวิจัยจะเป็นการกำหนดหลักเกณฑ์แนวปฏิบัติการดำเนินงานของที่พักชุมชนสัมผัสวัฒนธรรมในการสร้างความมั่นใจให้กับนักท่องเที่ยว เพื่อสนับสนุนนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจอุตสาหกรรมท่องเที่ยววิถีใหม่

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
อาจหาญ ด., เจริญวิศาล เ. ., & บุญมีศรีสง่า ม. . (2022). การยกระดับมาตรฐานปลอดภัยด้านสุขอนามัยการท่องเที่ยวที่พักชุมชนวัฒนธรรมยั่งยืนหลังสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22(1), 186–204. https://doi.org/10.14456/lartstu.2022.9
บท
บทความวิจัย

References

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2563). แนวทางมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย (SHA). https://thailandsha.tourismthailand.org

กระทรวงการท่องเที่ยว. (2562). มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กรมการท่องเที่ยว. (2563). คู่มือการปฏิบัติมาตรการผ่านปรนกิจการและกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคิติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. https://www.thailandsha.com/file/COVID-19_th.pdf

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2563). แนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม สถานบริการ หรือสถานที่ตากอากาศสำหรับนักท่องเที่ยว. https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/im_commands/im_commands02.pdf

ชูศักดิ์ อินทมนต์, ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์, และอิสระ สุวรรณบล. (2560). การพัฒนาโฮมสเตย์ไทยเพื่อรองรับการท่องเที่ยวจากประเทศอาเซียน. การประชุมวิชาการทางธุรกิจและนวัตกรรมทางการจัดการระดับชาติ ประจำปี 2560 (หน้า 1437-1442). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นิศา ชัชกุล. (2557). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พันธ์ธีรา ศรีประทักษ์ และพินิจ ทิพย์มณี. (2558). มาตรการกฎหมายเพื่อความปลอดภัย สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อมในการประกอบธุรกิจเพื่อการพักแรมที่ไม่ใช่โรงแรม [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.

Ajzen, I., & Fishbein, M. (1980). Understanding attitudes and predicting social behavior. Prentice-Hall.

Airbnb. (2020). Airbnb’s 5-step enhanced cleaning process. https://www.airbnb.com/help/article/2809/what-is-airbnbs-5step-enhanced-cleaning-process

Creswell, J. W. (2013) Qualitative inquiry and research design: Choosing among five approaches (3rd ed.). Sage.

Nair, V., Munikrishnan, U., Rajratnam, D. S., & King, N. (2015). Redefining rural tourism in Malaysia: A Conceptual perspective. Asia Pacific Journal of Tourism Research, 20(3), 314-337. https://doi.org/10.1080/10941665.2014.889026

Prentice-Dunn, S., & Rogers, W. R. (1986). Protection motivation theory and preventive health: Beyond the health belief model. Health Education Research, 1(3), 153-161.

Reisinger, Y., & Mavondo, F. (2005). Travel anxiety and intentions to travel internationally implications of travel risk perception. Journal of Travel Research, 43(3), 212-225. https://doi.org/10.1177/0047287504272017

Sifuentes, L. Y., Berba, C. P., Koenig, D. W., Phillips, R. L., & Reynolds, K. A., (2014). Use of hygiene protocols to control the spread of viruses in a hotel. Food and Environmental Virology, 6(3), 175–181.

Strauss, A. S., & Corbin, J. M. (1998). Basics of qualitative research: Techniques and procedures for developing grounded theory. Sage.

US Center for Disease Control. (2020) What Hotel, Resort, and Lodge Workers Need to Know about COVID-19. https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/community/organizations/hotel-employees.html

Vidich, A. J., & Lyman, S. M. (2000). Qualitative methods: Their history in sociology and anthropology. In N. K. Denzin & Y. Lincoln (Eds.), Handbook of qualitative research (2nd ed., pp. 37-84). Sage.

Vos, M. C., Galetzka, M., Mobach, M. P., van Hagen, M., & Pruyn, A. T. H. (2019). Measuring perceived cleanliness in service environments: Scale development and validation. International Journal of Hospitality Management, 83, 11–18.

Williams, A. M., & Balaz, V. (2015). Tourism risk and uncertainty: theoretical reflections. Journal of Travel Research, 54(3), 271-287.

World Health Organization. (2020). WHO timeline: COVID-19. https://www.who.int/news-room/detail/08-04-2020-who-timeline—covid-19

World Travel & Tourism Council. (2020). Leading Global Protocols for the New Normal - Hospitality. https://wttc.org/Portals/0/Documents/Reports/2020/Global%20Protocols%20for%20the%20New%20Normal%20-%20Hospitality.pdf?ver=2021-02-25-183105-457

Yang, E. C. L., & Nair, V. (2014). Tourism at risk: a review of risk and perceived risk in tourism. Asia-Pacific Journal of Innovation in Hospitality and Tourism, 3(2), 1-21.

Yu, j., Seo, J., & Sean Hyun, S. (2021). Perceived hygiene attributes in the hotel industry: customer retention amid the COVID-19 crisis. International Journal of Hospitality Management, 93, 102768. https://doi.org/10.1016/j.ijhm.2020.102768