การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเกษตร ด้วยกระบวนการวิเคราะห์เชิงสัณฐานพื้นที่ ผ่านโครงข่ายการสัญจรในชุมชนริมคลองมหาสวัสดิ์ จังหวัดนครปฐม

Main Article Content

พรชัย จิตติวสุรัตน์
ฐปณี รัตนถาวร

บทคัดย่อ

การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเกษตร ด้วยกระบวนการวิเคราะห์เชิงสัณฐานพื้นที่ ผ่านโครงข่ายการสัญจร ในชุมชนริมคลองมหาสวัสดิ์ จังหวัดนครปฐม การวิจัยใช้แนวคิดทฤษฎีด้านสัณฐานวิทยาเมืองและเครื่องมือวิเคราะห์เชิงสัณฐานพื้นที่สเปซซินแท็กซ์ ร่วมกับการวิเคราะห์ลักษณะกิจกรรมทางสังคมวัฒนธรรม เพื่อค้นหาบริเวณที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นเส้นทางท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับโครงข่ายการสัญจรในพื้นที่ ผลการศึกษาพบว่า คลองมหาสวัสดิ์เป็นเส้นทางที่มีศักยภาพ การเข้าถึงดีที่สุดจากทั้งระบบและมีเส้นทางท่องเที่ยวอยู่เดิม ควรกำหนดเป็นเส้นทางท่องเที่ยวหลัก ในบริเวณที่มีศักยภาพการเข้าถึงปานกลาง-ต่ำ ควรพัฒนาเป็นเส้นทางท่องเที่ยวเพื่อรองรับการขยายตัว และบริเวณที่มีศักยภาพการเข้าถึงต่ำควรพัฒนาเป็นเส้นทางท่องเที่ยวสนับสนุน

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
จิตติวสุรัตน์ พ., & รัตนถาวร ฐ. (2022). การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเกษตร ด้วยกระบวนการวิเคราะห์เชิงสัณฐานพื้นที่ ผ่านโครงข่ายการสัญจรในชุมชนริมคลองมหาสวัสดิ์ จังหวัดนครปฐม. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22(3), 49–80. https://doi.org/10.14456/lartstu.2022.33
บท
บทความวิจัย

References

กรมการท่องเที่ยว. (2552). คู่มือการประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร. ม.ป.พ. https://chainat.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=788

ครรชิต มาระโภชน์ และ ทักษินาฏ สมบูรณ์. (2559). การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงเกษตรเพื่อการเรียนรู้: กรณีศึกษาตำบลคลองเขื่อน ฉะเชิงเทรา. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 11(2), 23-36.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์. (2538). คู่มือพัฒนาภูมิทัศน์เมืองเพื่อการท่องเที่ยว เสนอต่อการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. ม.ป.พ.

เจษฎา นกน้อย. (2559). การท่องเที่ยวเชิงเกษตร: แนวคิดและประสบการณ์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 36(2), 157-169.

นิพนธ์ ทิพย์ศรีนิมิตร. (2548). เครือข่ายสังคม: เส้นทางเรียนรู้วิถีชีวิตและจิตวิญญาณของผู้คนในพื้นที่วัฒนธรรม. ปาริชาต, 18(1), 62-72.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. เพรส แอนด์ ดีไซน์.

พัฒน์นรี เธียรกิตติ์ธนา. (2547). การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร กรณีศึกษา ตำบลบางรักน้อย จังหวัดนนทบุรี [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์ข้อมูลการวิจัยDigital "วช.". https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14457/MU.the.2004.49

มนัส สุวรรณ, อุดม เกิดพิบูลย์, อนุรักษ ปัญญานุวัฒน์, ประหยัด ปานดี, บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา, ประสิทธิ์ การกลาง, รักกิจ ศรีสรินทร์, และ นเร เหล่าวิชยา. (2541). โครงการศึกษาแนวทางและการจัดการท่องเที่ยวในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลและสภาตำบล เสนอต่อการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. http://km.moi.go.th/E_Library/File_Books/EB0038.pdf

มาริน สมคิด, เฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, และ สุนันท์ สีสังข์. (2558). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดระยอง. ใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, การจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 5 (น. 1-11). https://www.stou.ac.th/thai/grad_stdy/Masters/research/5.pdf

วิสาขา ภู่จินดา. (2558). แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนโดยใช้หลักนิเวศวิทยาอุตสาหกรรม. https://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/280911

ศรีศักร วัลลิโภดม. (2559). สังคมลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา: พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลง. http://www.lek-prapai.org/watch.php?id=808#

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน, สำนักพัฒนาองค์ความรู้และประเมินผล. (2559). บทเรียนการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนระดับตำบล/จังหวัด และการบูรณาการแผนพัฒนาชุมชนกับหน่วยงาน/ภาคี. https://web.codi.or.th/wp-content/uploads/2019/05/book_planchumchon-150759.pdf

สำนักงานเกษตรอำเภอพุทธมณฑล. (2547). บรรยายสรุปอำเภอพุทธมณฑล. http://phutthamonthon.nakhonpathom.doae.go.th

อภิลักษณ์ เกษมผลกูล (บรรณาธิการ). (2559). ศาลายา เมืองน่าเที่ยว สัมผัสเสน่ห์ชีวิต “สุขใจ” ใกล้กรุง. สามลดา.

อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2548). ทฤษฎีและวิธีวิทยาของการวิจัยวัฒนธรรม. อัมรินทร์.

Alexander, C. A. (1964). Notes on the synthesis of form. Harvard University Press.

Batty, M., & Sikdar, P. K. (1982). Spatial aggregation in gravity models: 4. Generalisations and large-scale applications. Environment & Planning A, 14(6), 795-822. https://doi.org/10.1068/a140795

Chapin, S. F. (1972). Urban land use planning. University of Illinois Press.

Collier, A., & Harraway, S. (1997). Principler of tourism. Longman.

Conzen, M. R. G. (1981). The morphology of towns in Britain during the industrial era. In J. W. R. Whitehand (Ed.). The urban landscape: Historical development and management (pp. 87-126). Institute of British Geographers Special Publication 13. Academic Press.

Denzin, N. K. (1978). The research act: a theoretical introduction to sociological methods (2nd ed.). McGraw-Hill.

Goeldner, C. R., & Ritchie, J. R. B. (2012). Tourism: Principles, practices, philosophies (12th ed.). John Wiley & Sons.

Goldberg, D. (1997). Conservation and agriculture. Prentice Hall.

Hatch, D. A. (2009). Agritourism: Best management practices and plan of operation. LSU AgCenter. https://sustainable-farming.rutgers.edu/wp-content/uploads/2014/09/LSU-Agritourism-BMP.pdf

Hillier, B., & Hanson J. (1984). The social logic of space. Cambridge University Press.

Hillier, B. (1996). Cities as movement economies. Urban Design International, 1, 41-60. https://doi.org/10.1057/udi.1996.5

Hillier, B. (2000). Centrality as a process: Accounting for attraction inequalities in deformed grids. Urban Design International, 3(4), 107-127. https://doi.org/10.1080/135753199350036

Hillier, B., Penn, A., Hanson, J., Grajewski, T., & Xu, J. (1993). Natural movement: Or, configuration and attraction in urban pedestrian movement. Environment and Planning B: Planning and Design, 20, 29-66. https://doi.org/10.1068/b200029.

Holinhoij, J. H. (1996). A new concept of tourism Insight. Institute for Scientific.

Rattanathavorn, T., & Jittiwasurat, P. (2020). Development of agro-cultural tourism route based on spatial configuration analysis: The case of a rubber farmer village, Songkhla. Nakhara: Journal of Environmental Design & Planning, 18, 47-62. https://doi.org/10.54028/NJ2020184762

Rapoport, A. (1977). Human aspects of urban form: Towards a man-environment approach to urban form and design. Pergamon Press.

Sznajder, M., Przezborska, L., & Scrimgeour, F. (2009). Agritourism. CAB International.

Turner, A., & Penn, A. (1999). Making isovists syntactic: Isovist integration analysis. Proceedings of the 2nd International Symposium on Syntax, 01.1-01.9. https://www.spacesyntax.net/symposia-archive/SSSSpSx%nd%Symposium%2099%20-2003%20pdf/2nd%20Symposium%20Vol%201%20pdf/11%20Turner%20300.pdf

Turner, A. (2007). From axial to road-centre lines: A new representation for space syntax and a new model of route choice for transport network analysis. Environment and Planning B: Planning and Design, 34(3), 539-555. https://doi.org/10.1068/b32067