การสืบทอดเทศกาลตรุษจีนของเยาวชนไทยเชื้อสายจีนหาดใหญ่: การสนับสนุนของหน่วยงานภาครัฐ

Main Article Content

กิตตินันท์ เครือแพทย์
เกษตรชัย และหีม

บทคัดย่อ

งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสนับสนุนของภาครัฐที่สนับสนุนการสืบทอดเทศกาลตรุษจีนของเยาวชนไทยเชื้อสายจีนหาดใหญ่ โดยเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพประเภทปรากฏการณ์นิยม (Phenomenology) เก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 15 คน แบบเจาะจง (Purposive) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์นำมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) เพื่อนำมาสรุป ตีความ และจัดหมวดหมู่ และนำมาวิเคราะห์กับแนวคิด ทฤษฎีและวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐของหาดใหญ่มีการสนับสนุนด้านนโยบาย งบประมาณ การวางแผน และการประสานงานเพื่อให้เกิดการสืบทอดเทศกาลตรุษจีนหาดใหญ่ อย่างไรก็ดีงานวิจัยชิ้นนี้ยังพบประเด็นใหม่ ๆ ในการสนับสนุนให้เกิดการสืบทอดตรุษจีนที่สอดคล้องกับยุคสมัยมากขึ้น เช่น การเปิดเวทีการถ่ายทอดความรู้ การผลิตสินค้าที่ระลึกทางวัฒนธรรม เกมทายคำถามชิงรางวัล จิตรกรรมดิจิทัล และการเปิดเวทีแสดงความคิดเห็น

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
เครือแพทย์ ก., & และหีม เ. (2022). การสืบทอดเทศกาลตรุษจีนของเยาวชนไทยเชื้อสายจีนหาดใหญ่: การสนับสนุนของหน่วยงานภาครัฐ. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22(2), 260–299. https://doi.org/10.14456/lartstu.2022.23
บท
บทความวิจัย

References

กิตติ ประทีบนาฎศิริ, และ ธันย์พัทธ์ ใคร้วานิช. (2560). ผลกระทบของเทศกาลที่มีต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวประเทศไทย. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 9(3), 665-691.

ฉวีวรรณ สุวรรณาภา. (2561). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวัฒนธรรม. ใน ประกอบ มีโครตกอง (บรรณาธิการ). วัฒนธรรมไทย (พิมพ์ครั้งที่ 6, น. 1-18). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

ณัฐฐ์วัฒน์ สุทธิโยธิน. (2556). การสืบทอดทางวัฒนธรรม (cultural inheritance) ที่ประสบความสำเร็จ. http://nattawats.blogspot.com/2013/04/cultural-inheritance.html

เทศบาลนครหาดใหญ่. (2565). หน้าหลัก เทศบาลนครหาดใหญ่. https://www.hatyaicity.go.th/frontpage

ธนพล วิวัฒน์พาณิชย์. (2553). การสื่อสารเพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายจีนผ่านเทศกาลตรุษจีนปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นภัสสรณ์ เหลืองศักดิ์ศรี. (2562). ประเพณีการไหว้ในเทศกาลตรุษจีน: ที่มา ความหมาย และการเปลี่ยนแปลง. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 6(1), 383-394.

พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. (2542). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 116 ตอนที่ 114 ก, 17 พฤศจิกายน 2542, หน้า 1-21

พิณทิพย์ ขาวปลื้ม. (2556). การสืบทอดวัฒนธรรมปี่พาทย์มอญในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนบุรี [วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ยศ สันตสมบัติ. (2559). มนุษย์กับวัฒนธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 4). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. (2540). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 114 ตอนที่ 55 ก, 11 ตุลาคม 2540, หน้า 1-99

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. (2560). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก, 6 เมษายน 2560, หน้า 1-90

เรือนแก้ว ภัทรานุประวัติ. (2554). การศึกษาสืบทอดความเป็นจีนผ่านการทำความเข้าใจในความหมายและสัญลักษณ์ทางศาสนาของชาวจีนสู่ลูกหลานในสังคมไทย. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

วรรณดี สุทธินรากร. (2561). การวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยเชิงคุณภาพ. สยามปริทัศน์.

ศุภการ สิริไพศาล, อภิเชษฐ์ กาญจนดิฐ, พรชัย นาคสีทอง, และ สุมาลี ทองดี. (2549). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนชาวจีนเมืองหาดใหญ่จากอดีตถึงปัจจุบัน. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ, 9(2), 42-54.

ศุภการ สิริไพศาล. (2550). จีนหาดใหญ่ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสังคม. มหาวิทยาลัยทักษิณ.

สมชัย ใจดี, และ ยรรยง ศรีวิริยาภรณ์. (2545). ประเพณีและวัฒนธรรมไทย. ไทยวัฒนาพานิช.

แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย, และ ฤทธิชัย เตชะมหัทธนันท์. (2557). เทศกาลตรุษจีนเยาวราช: ภูมิหลังและพัฒนาการ. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์, 14(1), 35-44.

หงส์หทัย โล่เจริญวานิช, และ ประชาธิป มากมูล. (2565). การสร้างสรรค์จิตรกรรมดิจิทัลจากประเพณีวัฒนธรรมตรุษจีนจังหวัดบุรีรัมย์. Asian Journal of Traditional and Innovative Arts and Textiles, 1(1), 42-54.

อมรา พงศาพิชญ์. (2547). สังคมและวัฒนธรรม: เอกสารประกอบการศึกษาวิชา 313-183. ด่านสุทธา.

อำไพ หมื่นสิทธิ์. (2553). มนุษย์กับสังคม. ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.

อิสระพงษ์ พลธานี, อุมาพร บุญเพชรแก้ว, และ กุลธิดา นิมานบูรณวิจิตร. (2564). การส่งเสริมการท่องเที่ยวงานเทศกาลเที่ยวเมืองไทยผ่านข้อมูลสื่อออนไลน์. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 16(2), 18-35.

อุษณีย์ ธุวโชติ, และ ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์. (2556). วัฒนธรรมอาหารไทย: ภาคใต้. สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.

Buakaew, J., & Janjula, J. (2015). Adaptation of Chinese New Year Tradition among Thai Chinese in Songkhla Province amidst Modernization. Asian Social Science, 11(12), 144-154.

Conn, S. (2004). History’s Shadow: Native American and Historical Consciousness in the Nineteenth Century. University of Chicago Press.

Kottak, C. P. (2002). Cultural Anthropology (9th ed.). McGraw-Hill.

Morita, L. C. (2007). Religion and family of the Chinese and Thai in Thailand and influences. Studies in Language and Culture, 28(2), 125-142.

Sae-Wang, R. (2017). Cultural Heritage Management in Thailand: Common Barrier and the Possible Way to Survive. Silpakorn University Journal of Social Sciences, Humanities, and Arts, 17(2), 133-160.