ชาวบ้านอีสาน กับ “วัฒนธรรมการย้ายถิ่น”

Main Article Content

ลักษมี แก้ววงศ์ใหญ่
พัชรินทร์ ลาภานันท์
ภาณุ สุพพัตกุล

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัฒนธรรมการย้ายถิ่นข้ามชาติ ผ่านประสบการณ์ของชาวบ้านสว่าง อำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี รวมถึงเงื่อนไขที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมการย้ายถิ่น โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ มีผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นผู้ย้ายถิ่นข้ามชาติ 7 คน และผู้นำชุมชนที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติของชุมชน 2 คน ผลการศึกษาพบว่า การย้ายถิ่นข้ามชาติในบ้านสว่างเริ่มราว พ.ศ. 2520 มีผู้ชายไปทำงานยังกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง อีกสองทศวรรษต่อมาการขยายตัวของการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตในเอเชีย ทำให้ผู้หญิงเริ่มเดินทางไปทำงานยังประเทศแถบเอเชีย และยังมีผู้หญิงที่ย้ายถิ่นผ่านการแต่งงานข้ามชาติ จากการวิเคราะห์พบว่าแรงจูงใจในการย้ายถิ่นไม่ได้มีเฉพาะเหตุผลทางเศรษฐกิจเท่านั้น หากยังสัมพันธ์กับการเปลี่ยนผ่านช่วงวัย การทำหน้าที่ของความเป็นชายและความเป็นหญิง และความปรารถนาต่อชีวิตที่อิสระในต่างแดน เงื่อนไขเหล่านี้ผลักดันให้เกิดการย้ายถิ่นอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็น “วัฒนธรรมการย้ายถิ่น” ดังนั้น การศึกษาการย้ายถิ่นควรให้ความสำคัญกับเงื่อนไข  ที่หลากหลายรวมถึงเงื่อนไขเชิงอัตวิสัย เช่น ประสบการณ์ ความปรารถนา และการให้ความหมายที่ส่งผลในแง่การกระตุ้นและผลักดันการย้ายถิ่น

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
แก้ววงศ์ใหญ่ ล., ลาภานันท์ พ., & สุพพัตกุล ภ. . (2022). ชาวบ้านอีสาน กับ “วัฒนธรรมการย้ายถิ่น”. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22(2), 152–178. https://doi.org/10.14456/lartstu.2022.18
บท
บทความวิจัย

References

กรมการจัดหางาน. (2560). ยุทธศาสตร์การบริหารจัดส่งคนหางานไปทำงานในต่างประเทศ พ.ศ. 2560 - 2564. กรมการจัดหางาน กองบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศ.

กรมพัฒนาชุมชน. (2562). ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.). http://ebmn.cdd.go.th/#/jpt/report

กาญจนา แก้วเทพ, ธเนศ วงศ์ยานนาวา, ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์, สุชาติ เศรษฐมาลินี, และ อวยพร พานิช. (2541). สตรีศึกษา 1: โครงการหนังสือเล่ม “ผู้หญิงกับประเด็นต่าง ๆ”. สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี.

ดวงฤทัย สังข์ทอง. (2555). บทบาทของรัฐ ทุน แรงงานในกระแสโลกาภิวัตน์: กรณีศึกษาบันทึกความเข้าใจด้านแรงงานระหว่างเกาหลีใต้กับไทย. วารสารร่มพฤกษ์, 30(2), 79-96.

ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2549). การแต่งงานข้ามวัฒนธรรม: ไทยกับ "ฝรั่ง" ในประวัติศาสตร์สังคมสยาม. วารสารศิลปวัฒนธรรม, 27(5), 78-92.

ดุษฎี อายุวัฒน์, สุกัญญา เอมอิ่มธรรม, และ อภิศักดิ์ ธีระวิสิษฐ์. (2553). วิถีชีวิตแรงงานไทยในไต้หวัน: การศึกษาในถิ่นปลายทาง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 27(1), 1-28.

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (ม.ป.ป.). คำศัพท์ทางมานุษยวิทยา: พิธีกรรมเปลี่ยนผ่าน (Rite of Passage). สืบค้นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2563, จาก https://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/glossary/130.

นฤมล กล้าทุกวัน. (2556). สู่เมืองใหญ่: ปัจจัยในการย้ายถิ่นและการปรับตัวของแรงงานหญิงนวนคร. วารสารสงขลานครินทร์ (ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์), 21(2), 99- 132.

ปรีชา อรัญวารี. (2540). บทบาทนักการศึกษาต่อธุรกิจการจัดส่งแรงงานไทยไปต่างประเทศ: ศึกษาเฉพาะกรณี จังหวัดอุดรธานี [สารนิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปิยพงศ์ บุญกว้าง. (2558). ความมั่นคงของครัวเรือนของแรงงานย้ายถิ่นไปทำงานต่างประเทศในภาคอีสาน [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พรรณภัทร ปลั่งศรีเจริญสุข. (2551) อัตลักษณ์ของแรงงานข้ามชาติคืนถิ่นกับการต่อรองการพัฒนาของชาวบ้านในจังหวัดลำปาง [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วทานีย์นฎา จงแก้ว. (2560). แรงงานหญิงลาวในจังหวัดมุกดาหาร: การปรับตัว การต่อรองและความสัมพันธ์ข้ามแดน [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วิลาสินี อารียะกิจโกศล. (2559). การย้ายถิ่นแบบไม่ปกติของหมอนวดหญิงแผนไทยในเกาหลีใต้. วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(3), 35-55.

สมพงศ์ อาษากิจ. (2561). โครงสร้างความรู้สึกในชีวิตและเรื่องเล่าของแรงงานชายอีสานคืน ถิ่น 3 รุ่นอายุ. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 9(2), 87-122.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2540.) วิวัฒนาการของสำนักงาน ก.พ. พ.ศ.2471 - 2540. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

สุวิทย์ ธีรศาศวัต และคณะ. (2558). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและการเงินอีสาน. ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

อนุสรณ์ อุณโณ. (2539). การวิเคราะห์ชาตกัฏฐกถาด้วยทฤษฎีมานุษยวิทยาสัญลักษณ์ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Carling, J., & Collins, F. (2018). “Aspiration, Desire and Drivers of Migration.” Journal of Ethnic and Migration Studies, 44(6), 909-926. https://doi.org/10.1080/1369183X.2017.1384134

Cohen, E. (2003). Transnational Marriage in Thailand: The Dynamics of Extreme Heterogamy. In Bauer, T. G., & McKercher, B. (Eds.). Sex and Tourism: Journeys of Romance, Love, and Lust (pp. 57-81). Haworth.

Connell, R. W., & Masserschmidt, J. W. (2005). Hegemonic Masculinity: Rethinking the Concept. Gender and Society, 19(6), 829-859.

Dalgas, K. M. (2015). Becoming Independent through Au Pairs Migration: Self-making and Social Re-positioning among Young Filipinas in Denmark. Global Studies in Culture and Power, 22(3), 333-346.

De Haas, H. (2007). The impact of international migration on social and economic development in Moroccan sending regions: a review of the empirical literature. IMI working paper 3. International Migration Institute, University of Oxford.

Gennep, A. (1960). The Rites of Passage (M. B. Vizedom & G. L. Caffee, Trans.). Routledge and Kegan Paul.

Horvath, I. (2008). The culture of migration of rural Romanian youth. Journal of ethnic and migration studies, 34(5), 771-786. https://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/13691830802106036

Kaewwongyai, L., Lapanun, P., & Suppatkul, P. (2021). “Desire” and International Migration of Isan Villagers. Journal of Mekong Societies, 17(2), 140-160.

Kandel, W., & Massey, D. S. (2002). The culture of Mexican migration: A theoretical and empirical analysis. Social forces, 80(3), 981-1004.

Lapanun, P. (2019). Love, money and obligation: transnational marriage in a Northeastern Thai village. NUS Press.

Lee, C. K. (1998). Gender and the South China miracle: Two worlds of factory women. University of California Press.

Massey, S. D. (1986). The Settlement Process Among Mexican Migrants to the United States. American Sociological Review, 51(5), 670-84. www.jstor.org/stable/2095492

Mills, M. B. (1999). Thai women in the global labor force: Consuming desires, contesting sleves. Rutgers University Press.

Reichert, J. S. (1982). Social stratification in a Mexican sending community: The effect of migration to the United States. Social Problems, 29(1), 422-433.

Singhanetra-Renard, A., & Prabhudhanitisarn, N. (1992). Changing Socio-economic Roles of Thai Women and Their Migration. In S. Chant (Ed.). Gender and Migration in Developing Countries (pp. 154-173). Belhaven.

Thompson, E. (2018). Asian Smallholders in Comparative Perspective. Amsterdam University Press.

Timmerman, C., Hemmerechts, K., & De Clerck, H. (2014). The relevance of a “culture of migration” in understanding migration aspirations in contemporary Turkey. Turkish Studies, 15(3), 496-518.