“พุทธ” “เต๋า” “ขงจื่อ” เสมือนหนึ่งเดียว? ใน “ห้องสิน” วรรณกรรมเอกสมัยราชวงศ์หมิง

Main Article Content

บุรินทร์ ศรีสมถวิล

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษากระบวนการประสมประสานระหว่างคติ “พุทธ” “เต๋า” “ขงจื่อ” ในวรรณกรรม “ห้องสิน” โดยเสนอว่า แนวคิดขงจื่อที่ว่าด้วย “ลิขิตสวรรค์” เป็นกรอบใหญ่ของการดำเนินเรื่อง และภายในกงล้อแห่งลิขิตสวรรค์ (กงล้อใหญ่) ยังมีกงล้อเล็กหรือกงล้อเฟิงเสินปั่ง (ประกาศิตแต่งตั้งเทพเจ้า) ที่มีส่วนผสมของ “พุทธ” “เต๋า” “ขงจื่อ” หมุนเคลื่อนไปพร้อมกัน นอกจากนี้ “ปิศาจจิ้งจอกในร่างต๋าจี่มอมเมาโจ้วหวังตามพระบัญชาเจ้าแม่ หนี่ว์วา” ก็เป็น “แรงขับเคลื่อนหลัก” ของเรื่องที่นำไปสู่การผลัดเปลี่ยนราชวงศ์จากซังเป็นโจว นอกจากนี้ยังมี “เซินกงเป้า” เป็นฟันเฟืองที่ทำให้กงล้อแห่งลิขิตสวรรค์ สามารถเคลื่อนไปได้อย่างไม่สะดุดจนจบเรื่อง สิ่งที่กล่าวมานี้ฉายให้เห็นภาพ “กระบวนการ” ประสมประสานระหว่างคติที่แตกต่างหลากหลายดำรงอยู่ในเรื่องเดียวกันอย่างกลมกลืน

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
ศรีสมถวิล บ. (2021). “พุทธ” “เต๋า” “ขงจื่อ” เสมือนหนึ่งเดียว? ใน “ห้องสิน” วรรณกรรมเอกสมัยราชวงศ์หมิง. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21(2), 117–156. https://doi.org/10.14456/lartstu.2021.22
บท
บทความวิจัย

References

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2543). ตำนานหนังสือสามก๊ก. ดอกหญ้า.

คัมภีร์ต้าเสวีย (มหาศึกษา) และจงยง (ความเหมาะสมที่แน่นอน) สองคัมภีร์แก่นคำสอนของลัทธิขงจื๊อ (ถาวร สิกขโกศล และกนกพร นุ่มทอง, ผู้แปล). (2562). สมาคมเผยแผ่คุณธรรม “เต็กก่า” จีจินเกาะ.

คัมภีร์เมิ่งจื่อ (ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์, ผู้แปล). (2558). โอเพ่น โซไซตี้.

สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2540). เกณฑ์การถ่ายทอดเสียงภาษาจีนแมนดารินด้วยอักขรวิธีไทย. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สวี่จ้งหลิน. ฮ่องสิน ประกาศิตแต่งตั้งเทพเจ้า (วิวัฒน์ ประชาเรืองวิทย์, ผู้แปล). (2551). ต้นไม้.

เสถียร โพธินันทะ. (2522). เมธีตะวันออก. บรรณาคาร.

หลุนอี่ว์: ขงจื่อสนทนา (สุวรรณา สถาอานันท์, ผู้แปล). (2562). โอเพ่นบุ๊ค.

Ding, X. G. 丁锡根 (1996). 《中国历代小说序跋集》. 人民文学出版社.

Feng, W. 封苇 (1984). 《〈封神演义〉谈》.《读书》, 7.

Hu, W. C. 胡万川. (1996). 《〈封神演义〉中封神的意义》. 载'93 中国古代小说国际硏讨会论学术编委会编《'93 中国古代小说国际硏讨会论文集》. 开明出版社.

Hu, W. H. 胡文辉 (1990). 《〈封神演义〉阐教和截教考》.《学术研究》, 2.

Huang, J. C. 黄景春 (2006). 《中国古代小说仙道人物研究》. 广西师范大学出版社.

Li, F. D., & Zhang, G. F. [宋]李防等、张国风会校 (2011). 《太平广记会校》. 北京燕山出版社.

Li, J. G., & Chen, H. 李剑国、陈洪. (2007). 《中国小说通史•明代卷》.高等教育出版社.

Li, Y. H. 李亦辉 (2018). 《〈封神演义〉考论》. 人民文学出版社.

Li, Y. H. 李亦辉 (2011). 《混合三教以儒为本——论〈封神演义〉的整体文化特征》. 《哈尔滨工业大学学报》 (社会科学版), 3.

Liang, G. Z. 梁归智 (2019). 《 修仙遭劫再封神——〈封神演义〉的情节逻辑》.《名作欣赏》, 12.

Liang, G. Z. (a) 梁归智 (a). (2020). 《三教合一道为尊——〈封神演义〉里的儒佛道 (一)》. 《名作欣赏》, 4.

Liang, G. Z. (b) 梁归智 (b) (2020). 《三教合一道为尊——〈封神演义〉里的儒佛道 (二)》. 《名作欣赏》, 5.

Liang, S. X. 梁胜兴 (2012). 《文殊的青狮子坐骑考》. 《中华文化论坛》, 1.

Liu, H. 刘寰 (2015). 《〈封神演义〉的宗教文化及其艺术表现》[学硕士学位论文]. 渤海大.

Liu, X. Y. 刘相雨 (2019). 《〈封神演义〉中姜子牙形象的文化意蕴》.《陕西理工大学学报》(社会科学版), 1.

Liu, Y. Y. 刘彦彦 (2011). 《宗教文化视野下对〈封神演义〉的解读》.《哈尔滨工业大学学报》 (社会科学版), 5.

Lu, X. 鲁迅 (2006). 《中国小说史略》. 人民文学出版社.

Ma, S. T. 马书田 (2004). 《中国佛教诸神》. 国家出版社.

Ma, S. T. 马书田 (1997). 《中国冥界诸神》. 团结出版社.

Pan, B. Q., & Liu, L. 潘百齐、刘亮 (2000). 《论〈封神演义〉的道教文化涵蕴》.《 明清小说研究》, 2.

Shi, C. Y. 石昌渝 (2004). 《〈封神演义〉政治宗教寓意》. 《东岳论丛》, 3.

Shi, C. Y. 石昌渝 (1994). 《中国小说源流论》. 生活•读书•新知三联书店.

Si, M. Q. [西汉]司马迁 (1982). 《史记》. 中华书局.

Song, Y. Z. [民国]•宋芸子 (1996). 《宋评封神演义序》. 载丁锡根《中国历代小说序跋集》. 人民文学出版社.

Tan, F. L., & Chen, Y. C. 谈凤樑、陈泳超 (1992). 《借神演史的〈封神演义〉》. 辽宁教育出版社.

Wan, F. 万方 (2013). 《〈封神演义〉女性刍议》. 《九江学院学报》(社会科学版), 4.

Wang, L. R. 王连儒 (2002). 《志怪小说与人文宗教》. 山东大学出版社.

Wang, S. 王帅 (2017). 《〈封神演义〉中的女性人物形象分析》. 《现代语文》 (学术综合版), 2.

Xiao, B. 萧兵 (1991). 《黑马:中国民俗神话学文集》. 时报文化出版社企业公 司.

Xie, Q. Y. 谢青云译注 (2017). 《神仙转》. 中华书局.

Xu, Z. L. [明]许仲琳 (2007). 《封神演义》. 人民文学出版社.

Yang, T. Y. 杨天宇撰 (2004). 《礼记译注》(十三经译注). 上海古籍出版社.

Ying, S., & Wang, L. Q. [汉]应劭撰、王利器校注 (1981). 《风俗通义校注》. 中华书.

Yu, J. [清]俞景 (1996). 《封神演义诠解序》. 载丁锡根《中国历代小说序跋集》.人民文学出版社.

Zhang, H. X. 张翰勋 (1987). 《〈论语〉天命观辨要》. 《齐鲁学刊》, 1.

Zhongguo fojiao wenhua yanjiusuo 中国佛教文化研究所 (1993). 《俗语佛源》. 上海人民出版社.

Zhongguo shehui kexueyuan yuyan yanjiusuo cidian bianji shibian 中国社会科学院语言研究所词典编辑室 (2017). 《现代汉语词典》(第7版). 商务印书馆.

Zhu, Y. L. 朱越利 (2004). 《〈封神演义〉与宗教》. 《东岳论丛》, 3.

Zou, C. G. [清]邹存淦 (1996). 《删补封神演义诠解序》. 载丁锡根《中国历代小说序跋集》. 人民文学出版社.

Zou, Z. Y. (2019). 《明代神魔小说研究》. 四川大学出版社.