พุทธศาสนากับบทบาทสตรีในสังคมพหุวัฒนธรรมสมัยราชวงศ์ถัง

Main Article Content

ศิริวรรณ วรชัยยุทธ

บทคัดย่อ

สภาพสังคมสมัยราชวงศ์ถังมีลักษณะเป็นพหุวัฒนธรรม ทั้งเป็นช่วงที่พุทธศาสนาซึ่งเป็นศาสนาต่างถิ่นรุ่งเรืองมากในจีน การเข้ามาของพุทธศาสนาส่งผลต่อวิถีชีวิตและหน้าที่ของสตรีในบทบาทที่เปลี่ยนไป งานวิจัยนี้ศึกษาอิทธิพลของพุทธศาสนาต่อสตรีสมัยราชวงศ์ถังโดยการวิจัยเอกสารข้อมูลภาษาจีนเป็นหลัก ผลการศึกษาพบว่าพุทธศาสนาเป็นเงื่อนไขและปัจจัยสำคัญที่ทำให้บทบาทสตรีสมัยราชวงศ์ถังเปลี่ยนไปภายใต้กรอบแนวคิดขงจื่ออย่างแยบยล พุทธศาสนาได้เพิ่มพื้นที่ทางสังคม การได้รับการยอมรับทางสังคมจากกิจกรรมทางศาสนาที่ตนเองได้มีส่วนร่วม เพิ่มทางเลือกในวิถีชีวิตที่นอกเหนือจากบทบาทตามจารีต อีกทั้งเป็นการแก้ปัญหาชีวิตของสตรีซึ่งผูกติดกับครอบครัว ด้วยการสร้างคุณค่าให้กับสตรีอีกหนทางหนึ่ง

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
วรชัยยุทธ ศ. (2021). พุทธศาสนากับบทบาทสตรีในสังคมพหุวัฒนธรรมสมัยราชวงศ์ถัง. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21(1), 298–329. https://doi.org/10.14456/lartstu.2021.12
บท
บทความวิจัย

References

ธนัสถ์ สุวัฒนมหาตม์. (2559). สีสันแห่งประวัติศาสตร์ราชวงศ์ถัง. ใน ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์ (บรรณาธิการ), เหตุเกิดในราชวงศ์ถัง (พิมพ์ครั้งที่ 1) (น. 14-41). นนทบุรี: ชวนอ่าน.

นัยน์พัศ ประเสริฐเมฆากุล. (2555). พรหมจรรย์:กรงเกียรติยศสตรีในสมัยราชวงศ์ชิง. ใน ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์ (บรรณาธิการ), เหตุเกิดในราชวงศ์ชิง (พิมพ์ครั้งที่ 1) (น. 106-131). นนทบุรี: ชวนอ่าน.

รติรัตน์ กุญแจทอง, และกนกพร นุ่มทอง. (2559). เตือนหญิง: วรรณกรรมสอนสตรีที่ประพันธ์ขึ้นภายใต้วัฒนธรรมขงจื๊อ. วารสารจีนศึกษา, 9(1), 50-72.

ศิริวรรณ วรชัยยุทธ. (2559). แม่และเมีย บทบาทของผู้หญิงในสังคมจีน. ใน พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ (บรรณาธิการ), พลังผู้หญิง แม่ เมีย และเทพสตรี ความจริงและภาพแทน (พิมพ์ครั้งที่ 1) (น. 249-259). กรุงเทพฯ: สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

หลี่เฉวียน. (2556). ประวัติศาสตร์จีนฉบับย่อ (เขมณัฏฐ์ ทรัพย์เกษมชัย, ผู้แปล; พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: มติชน.

Bo, L. C. (2010). Zhongguo tongshi: Sui Tang Wudai shi. Beijing: Jiuzhou chubanshe: [博乐成《中国通史: 隋唐五代史》——北京: 九州出版社, 2010。]

Du, W. Y. (2008). “Tangdai shehui kaifang de tedian yu lishi juxian”. In Hebei xuekan. (3). [杜文玉.唐代社会开放的特点与历史局限.《河北学刊》, 2008. 3。]

Duan, T. L. (2010). “Lun Tangdai fojiao de shisuhua ji dui nusheng jiehun jiatingguan de yingxiang”. In Shanxi Shifan Daxue xuebao. (1). [段塔丽.论唐代佛教的世俗化及对女性婚姻家庭观的影响.《陕西师范大学学报》, 2010.1。]

Gao, S. Y. (2011). Tangdai funu. Xi’an: Sanqin chubanshe. [高世瑜《唐代妇女》——西安:三秦出版社, 2011。]

Gou, L. J. (2008). “Tangdai wenhua de kaifang yu duoyuan fazhan”. In Hebei Xuekan. (3). [勾利军.唐代文化的开放与多元发展.《河北学刊》, 2008.3。]

Gu, W. L. (2013). Zhongguo wenhua tonglun. Shanghai: Donghua Shifan Daxue chubanshe. [顾伟列《中国文化通论》——上海: 华东师范大学出版社, 2013。]

Huang, J. Q. (2012). “Tangdai Biqiuni chujia de jingji yuanyin tanxi”. In Chifeng Xueyuan xuebao. (6). [黄健琴.唐代比丘尼出家的经济原因探析.《赤峰学院学报》, 2012.6。]

Jiao, J. (2014). “Tangdai Biqiuni de zhonglei, shoujie xiye yiji hongfa huodong”. In Xiamen Daxue xuebao (zhexue shehui kexue ban). (6). [焦杰.唐代比丘尼的种类、受戒习业以及弘法活动. 《厦门大学学报.哲学社会科学版》, 2014.6。]

Jiao, J. (2015). Tangdai nuxing yu zongjiao. Shanxi: Shanxi renmin jiaoyu chubanshe. [焦杰《唐代女性与宗教》——陕西: 陕西人民教育出版社, 2015。]

Li, Z. S. “‘Lita xiejing’ yu ‘neiwai zhi ji’: Tangdai funu de fojiaogong de huodong.” In Zhongguo shehui lishi pinglun. (17), 25-49. [李志生. “立塔写经” 与 “内外之际”: 唐代妇女的佛教宫的活动.《中国社会历史评论》, 2016第 17 卷 (下). 25-49。]

Liu, Z. X. (2018). “Tangdai nuxing diwei yanjiu”. In Kaifeng Jiaoyu Xueyuan xuebao. (38). [刘兆新.唐代女性地位研究.《开封教育学院学报》, 2018 第 38 卷 第 1 期。]

Liu, S. S. (2019). Tangdai Biqiuni yanjiu--yi Biqiuni shike ziliao wei zhongxin. Shanxi Shifan Daxue. [刘闪闪.唐代比丘尼研究——以比丘尼石刻资料为中心,陕西师范大学, 2019。]

Ma, H. L., & Zhou, H. Y. (2005). “Wei Jin Nan Bei chao shiqi de biqiuni”. In Pingdingshan Xueyuan xuebao. (6), 10-11. [马洪良, 周海燕.魏晋南北朝时期的比丘尼.《平顶山学院学报》, 2005. 第六期. 10-11。]

Weinstein. (2015). Tangdai fojiao - Buddhism Under the T’ang (Zhang, Y.,Trans.). Shanghai: Shanghai guji chubanshe. [(美) 斯坦利·威斯坦因 (作者), 张煜 (译者)《唐代佛教》Buddhism Under the T'ang ——上海: 上海古籍出版社, 2015, 1。]

Wu, S. (2018). Sui Tang gongzhu de fojiao xinyang yanjiu. Lanzhou Daxue. [吴双.隋唐公主的佛教信仰研究, 兰州大学, 2018。]

Wu, Y. X. (2017). “Qiantan Tangdai wenhua de duoyuan fazhan moshi”. In Lilun yanjiu. (2). [吴雨欣.浅谈唐代文化的多元发展模式.《理论研究》, 2017年2月上。]

Xiong, x. j.(2005). Zhongguo nuzijiaoyuzhi. Shanxi: Shanxijiaoyu chubanshe. [熊贤君著《中国女子教育史》——山西: 山西教育出版社, 2009, 2。]

Zhang, C. Z. (2012). Liuchao funu. Nanjing: Nanjing chubanshe. [张承宗著《六朝妇女》——南京: 南京出版社, 2012,1。]

Zhang, C. Z. (2006). “Wei Jin Nan Bei chao funu de zongjiao xingyang”. In Nantong Daxue xuebao, (22), 91-97. [张承宗.魏晋南北朝妇女的宗教信仰.《南通大学学报. 社会科学报》第22卷第2期, 2006. 91-97。]

Zhu, S. Y. (2017). Fojiao shisuhua dui Tangdai nuxing de yingxiang yanjiu. Shanghai Shifan Daxue. [朱素英《佛教世俗化对唐代女性的影响研究》——上海师范大学, 2017。]