ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการทดลองใช้ภาษาเป้าหมาย ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการออกเสียงภาษาญี่ปุ่น

Main Article Content

ยุพกา ฟูกุชิม่า

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการทดลองใช้ภาษาเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการออกเสียงภาษาญี่ปุ่น กลุ่มประชากร ได้แก่ นิสิตวิชาเอกภาษาญี่ปุ่นชั้นปีที่ 3 จำนวน 9 คน ผลการศึกษาพบว่า ด้านความคาดหวังต่อการใช้ภาษาของผู้สอน ผู้เรียนประมาณครึ่งหนึ่งต้องการให้ผู้สอนใช้ภาษาญี่ปุ่นเป็นหลัก และอีกครึ่งหนึ่งต้องการให้ผู้สอนใช้ภาษาญี่ปุ่นควบคู่กับภาษาไทยในสัดส่วนเฉลี่ยร้อยละ 71 ต่อ 29สำหรับความพึงพอใจต่อการบรรยายด้วยภาษาญี่ปุ่นของผู้สอน ในภาพรวมผู้เรียนมีความพึงพอใจในระดับมาก หัวข้อที่ผู้เรียนเห็นด้วยมากที่สุด ได้แก่ “การสอนด้วยภาษาญี่ปุ่นของอาจารย์ชาวไทย เป็นการเพิ่มปริมาณการฟังภาษาญี่ปุ่น” “การที่อาจารย์ชาวไทยสอนโดยใช้ภาษาญี่ปุ่นเป็นหลักช่วยฝึกทักษะการฟังภาษาญี่ปุ่น” “ภาษาญี่ปุ่นที่อาจารย์ชาวไทยใช้ในห้องเรียนเข้าใจง่าย” และ “ท่านได้เรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นจากภาษาญี่ปุ่นที่อาจารย์ชาวไทยใช้ในห้องเรียน” โดยสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้จากภาษาญี่ปุ่นที่อาจารย์ชาวไทยใช้ในห้องเรียน 3 อันดับแรก ได้แก่ “คำศัพท์” “การออกเสียง” และ “ภาษาพูดที่อาจไม่ตรงตามไวยากรณ์” ทั้งนี้ปัจจัยหลักที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นในการจัดการเรียนการสอนได้สำเร็จคือการประยุกต์ใช้แนวทางการกลับทางห้องเรียนโดยให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาการเรียนรู้ด้วยตนเองจากตำราและทำใบงานส่งล่วงหน้า

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
ฟูกุชิม่า ย. (2021). ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการทดลองใช้ภาษาเป้าหมาย ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการออกเสียงภาษาญี่ปุ่น. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21(1), 59–89. https://doi.org/10.14456/lartstu.2021.3
บท
บทความวิจัย
Author Biography

ยุพกา ฟูกุชิม่า, คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเทศไทย

การศึกษา

2552 Ph.D. Japanese Language and Culture, National Graduate Institute for Policy Studies, Japan
2543 M.A. Japanese Studies, Tokyo University of foreign Studies, Japan
2539 ศศ.บ. ภาษาญี่ปุ่น, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ประเทศไทย

ผลงานวิจัย

  1. Siriphonphaiboon Yupaka (2008) “The Effectiveness of Self-Monitoring on Japanese Accent Learning: An Analysis of Questionnaire to Thai L1 Learners of Japanese”, Nihongo akusento no gakushuu ni okeru “Jikomonitaa” no yuukoosee : Taigo bogo washa ni taisuru ankeeto no bunseki kara, Journal of the Phonetic Society of Japan 12/2: 17-29.
  2. Yupaka Siriphonphaiboon, Isomura Kazuhiro, Pakatip Sakulkru (2008) “A Survey on current situation of Japanese phonetics Education in Thailand”, Taijin kyooshi ni yoru nihongo onsee kyooiku no genjyoo choosa, บทความนำเสนอในการประชุมวิชาการนานาชาติ เรื่องทิศทางการศึกษาภาษาญี่ปุ่นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (16-17 ต.ค. 2551) หน้า 146-150.
  3. ยุพกา ฟูกุชิม่า. ๒๕๕๔. ความเชื่อและกลยุทธ์การเรียนรู้ของนิสิตวิชาเอกภาษาญี่ปุ่นชาวไทย. มนุษยศาสตร์ในทศวรรษใหม่ : พลวัติแห่งองค์ความรู้กับพหุลักษณ์ทางวัฒนธรรม. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. หน้า ๑๐๓-๑๒๐.
  4. ยุพกา ฟูกุชิม่า. ๒๕๕๕. ความเชื่อและกลยุทธ์การเรียนรู้การออกเสียงของนิสิตเอกภาษาญี่ปุ่นชาวไทย. เอกสารหลังการประชุมระดับชาติเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ ๕. หน้า ๘๓-๑๐๐.
  5. ยุพกา ฟูกุชิม่า กนกพร นุ่มทอง สร้อยสุดา ณ ระนอง. ๒๕๕๖. ความนิยมในการเรียนภาษาญี่ปุ่นและภาษาจีนของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: แรงจูงใจแตกต่างกันอย่างไร. วารสารญี่ปุ่นศึกษา ฉบับที่ ๓๐ เล่มที่ ๑. หน้า ๒๗-๔๐. 
  6. ยุพกา ฟูกุชิม่า. ๒๕๕๘. ประสิทธิผลของการฝึกแชโดอิ้งต่อการเรียนรู้เสียงสูงต่ำภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชาวไทย.วารสารญี่ปุ่นศึกษา ฉบับที่ ๓๒ เล่มที่ ๑. หน้า ๗๑-๙๐.
  7. Isomura Kazuhiro, Matsuda Makiko and Yupaka Fukushima (2016). The Japanese Accent realization of Thai speakers and Vietnamese speakers: Focusing on the effect of accent markers (「タイ語話者およびベトナム語話者による日本語アクセントの実現―アクセント記号の効果に注目して―」). In Proceedings of BALI-ICJLE 2016 International Conference on Japanese Language Education , Bali, Indonesia, 9-11 September. (in Japanese)
  8. Rika Inagaki, Yupaka Fukushima, Noriaki Matsuo (2018). สิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการไปศึกษาที่ประเทศญี่ปุ่น 2 สัปดาห์: ผลจากการวิเคราะห์แบบสอบถามและการสัมภาษณ์นักศึกษามหาวิทยาลัยชาวไทย 4 คน (「二週間の日本留学で学習者が学んだもの―タイ人大学生四名への質問紙調査及びインタビュー調査の結果から―」)นำเสนอในการสัมมนาประจำปีของกลุ่มศึกษาภาษาญี่ปุ่นครั้งที่ 30 วันที่ 17 มีนาคม 2561
  9. ยุพกา ฟูกุชิม่า และ ทัศนีย์ เมธาพิสิฐ. ๒๕๖๐. ทักษะการฟังและแยกแยะเสียงสูงต่ำในคำภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชาวไทย: เปรียบเทียบระหว่างผู้ที่มีประสบการณ์เรียนรู้และฝึกฝนเสียงสูงต่ำกับผู้ที่ไม่มี. วารสารญี่ปุ่นศึกษา ฉบับที่ ๓๔ เล่มที่ ๒. หน้า ๕๕-๗๔.
  10. คุมิโกะ มิชิมะ และ ยุพกา ฟูกุชิม่า. 2561. การศึกษากลวิธีการเรียนรู้คันจิของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชั้นกลางชาวไทยในระดับอุดมศึกษา: เปรียบเทียบระหว่างผู้ที่มีความสามารถทางคันจิสูงและต่ำ. นำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ IAMBEST ครั้งที่ 3 วันที่ 25 พฤษภาคม 2561. 3rd IAMBEST 2018 บทความฉบับเต็มการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 3 หน้า 678-689.
  11. ยุพกา ฟูกุชิม่า และ ทัศนีย์ เมธาพิสิฐ. ๒๕๖๑.ปัจจัยที่สัมพันธ์กับทักษะการฟังเสียงสูงต่ำภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนชาวไทย. วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑. หน้า ๓๗-๕๘.
  12. Rika INAGAKI, Yupaka FUKUSHIMA, Noriaki MATSUO (2018). Effects of a two-week study-in-Japan program on Japanese-language learning: Focusing on learning motivations, learning strategies, and learning resources. Venezia ICJLE 2018, Italy, 3-4 August.
  13. ユパカー・フクシマ(2018)「タイの大学におけるビジネス日本語コースの現状と課題―カセサート大学を事例として―」『専門日本語教育研究』20,3-8.
  14. ฉัตรวัฒน์ หวังศิริกำโชค และ ยุพกา ฟูกุชิม่า. 2562. ความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีการเรียนรู้เชิงอภิปัญญากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัย ราชภัฎพระนครสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 2.
  15. ยุพกา ฟูกุชิม่า. 2562. ทัศนคติของผู้เรียนต่อการบรรยายด้วยภาษาญี่ปุ่นของผู้สอนชาวไทยในรายวิชาการอ่านภาษาญี่ปุ่นขั้นสูง. วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 9 ฉบับที่ 1. หน้า 25-48.

References

กนกวรรณ เลาหบูรณะกิจ คะตะกิริ. (2560). ระดับความสามารถการพูดและแนวโน้มการใช้รูปภาษาของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นเป็นวิชาเอกชาวไทยในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วารสารอักษรศาสตร์, 46(1),171-207.

บุญชม ศรีสะอาด. (2539). การแปลผลเมื่อใช้เครื่องมือรวบรวมข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่า. วารสารการวัดผลการศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2(1). 64-70.

ยุพกา ฟูกุชิม่า. (2555). ความเชื่อและกลยุทธ์การเรียนรู้การออกเสียงของนิสิตเอกภาษาญี่ปุ่นชาวไทย. เอกสารหลังการประชุมระดับชาติเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ 5, 83-100.

ยุพกา ฟูกุชิม่า. (2561). การออกเสียงภาษาญี่ปุ่น จากทฤษฎีสู่ปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ยุพกา ฟูกุชิม่า. (2562). ทัศนคติของผู้เรียนต่อการบรรยายด้วยภาษาญี่ปุ่นของผู้สอนชาวไทยในรายวิชาการอ่านภาษาญี่ปุ่นขั้นสูง. วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา, 9(1), 25-48.

ยุพกา ฟูกุชิม่า, และริกะ อินะงะขิ. (2562). ความเชื่อ และความคาดหวังของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยต่อชั้นเรียนภาษาญี่ปุ่น ครูภาษาญี่ปุ่น และบทบาทของผู้สอน. วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา, 9(2), 1-25.

วิจารณ์ พานิช. (2556). ครูเพื่อศิษย์ สร้างห้องเรียนกลับทาง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล.

สมพร โกมารทัต. (2548). การศึกษาเปรียบเทียบวัฒนธรรมการสอนภาษาญี่ปุ่นในฐานะภาษาที่สอง ระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทยกับมหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุ่น (รายงานผลการวิจัย). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

อัษฎายุทธ ชูศรี. (2012). การใช้ภาษาญี่ปุ่นในการบรรยายโดยผู้สอนชาวไทย กรณีศึกษาการสอนวิชาเนื้อหาระดับกลางสูง ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วารสารเจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ, 9, 139-144.

Boonserm, S. (2012). Japanese Language Learners’ Perception toward “Classroom Activities” In case of Thailand University Students: In Perspective of “Preference” “Enjoyment” and “Effectiveness”. Japanese Language Education Methods, 19(2), 44-45. (In Japanese)

Boonserm, S. (2016). Kootoo kyooiku bijinesu nihongo senkoo karikyuramu kaizen no ichikoosatsu: Tai shiritsu daigaku Dhurakij Pundit daigaku no jirei. Proceedings of BALI International Conference on Japanese Language Education. (In Japanese)

Crouse, D. (2012). Going For 90% Plus: How to Stay in the Target Language. The Language Educator, 22-27.

Retrieved from https://www.actfl.org/sites/default/files/pdfs/TLEpdf/TLE_Oct12_Article.pdf

Ishino, M. (2016). Meta Utilization of Discourse Markers in a Foreign Language Classroom: A Classroom Discourse Analysis of English Medium Instruction. The Japanese Journal of Language in Society, 19(1), 166-173. (In Japanese)

Jin, E. S. (2006). Nihon kokunai no hibogowasha nihongo kyooshi ni taisuru gakushuusha no henyoo: Waseda daigaku no shokyuu jissen o tooshite. Kooza Nihongo Kyooiku, 42, 60-81. (In Japanese)

Kaewkritsadang, P. (2017). Can-Do Statements Based Japanese Language Education: Study for Application to Create New Curriculum and Japanese Language Textbooks for Undergraduate Students in Thailand. Journal for Japanese studies, 7, 111-128. (In Japanese)

Kongjit, S., & Yoshida, N. (2012). Team Teaching ni okeru neetibu kyooshi to non-neetibu kyooshi no yakuwari buntan: Chiangmai daigaku shokyuu nihongo kurasu no taijin gakushuusha no kitai. Japanese Language Education Bulletin Japan Foundation Bangkok, 9, 129-138. (In Japanese)

Kubota, Y. (2005). Surveying Non-Native Japanese Teachers’ Beliefs: Analysis focusing on beliefs about instructional contents and instructional Method. Selected research papers in applied language studies, 7, 163-176. (In Japanese)

Laohaburanakit Katagiri K., Iketani K., Katagiri J., & Nakayama E. (2010). Experiences and Hon’ne of Thai Teachers on Collaboration with Japanese Teachers in Japanese Language Education: With a Special Reference to the ‘Accuracy-Focus’ Views of Teaching”. The Report of Osaka University Forum 2009: 21st Century Perspective of Japanese Language and Culture Education in Southeast Asia, 40-46. (In Japanese)

Lee, Y. (2016). Japanese-Korean code-switching in the context of Korean language education and applying the concept of code-switching in second language teaching methodology. Integrated Sciences for Global Society Studies, 4, 31-50. (In Japanese)

Macoro, E. (2001). Analysis Student Teachers’ Codeswitching in Foreign language Classrooms: Theories and Decision Making. The Modern Language Journal, 85, 531-548.

Medgyes, P. (1992). Native or non-native: Who’s worth more?. ELT Journal, 46(4), 340-349.

Nakayama, E., Kadowaki, K,, & Takahashi, M. (2015). Nihongo hibogowasha kyooshi to bogowasha kyooshi ni yoru kyooshikan kyoodoo no jittai choosa hookoku: Tai no kookoo ni okeru kyoodoo kankyoo to kyoodoo naiyoo. Research bulletin of Iwaki Meisei University. College of Humanities, 28, 19-34. (In Japanese)

Siriphonphaiboon, Y. (2008). The Effectiveness of Self-monitoring on Japanese Accent Learning: An Analysis of Questionnaire to Thai L1 Learners of Japanese. Journal of The Phonetic Society of Japan, 12(2), 17-29. (In Japanese)

Takahashi, M. (2015). View of Japanese-language education in Japan by non-native teachers: Proposal for diversification of language teachers in multicultural symbiotic societies. Journal for the Study of Japanese Language Education Practice, 2, 104-113.

Tanasarnsanee, M., Kosaka, C., Toyama, J., Nakai, M., & Fukuzawa, S. (2005). Bijinesu de tsukau nihongo o kangaeru: Kigyoo to kyooikugenba no shiten kara. Japanese Language Education Bulletin Japan Foundation Bangkok, 2, 207-222. (In Japanese)

Turnbull, M., & Arnett, K. (2002). Teachers’ Use of the Target and First Language in Second and Foreign Language Classrooms. Annual Review of Applied Linguistics, 22, 204-218.

Yokota, T. (2013). A Survey of foreign students’ view towards Non-native Japanese language teachers in Japan. 2013 CAJLE Annual Conference Proceedings, 322-331. (In Japanese)

Yokota, T. (2017). The effective training for Non-native Japanese language teachers in Japan. Bulletin of Hokuriku University, 43, 75-86. (In Japanese)

Yoshida, K., & Shibasaki, R. (2007). Toward the Co-working Models of Foreign Language Teaching by Native and Local Teachers: Methods Possible in Mongolia, Contrasts with Teaching in Thailand and etc. Japanese Education in Asia: Proceedings of 1st anniversary seminar of Master of Arts Program in Japanese as a Foreign Language, 89-120. (In Japanese)