การคิดริเริ่มการเปลี่ยนแปลงของผู้นำ: ปัจจัยความสำเร็จของการใช้ภาวะผู้นำในการพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อให้เกิดชุมชนตัวอย่าง

Main Article Content

กิตตินันท์ เครือแพทย์
อรพิมพ์ สุขคง
วรินทรา ปุรินทราภิบาล
กานดา จันทร์แย้ม

บทคัดย่อ

งานศึกษาชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยความสำเร็จของการใช้ภาวะผู้นำในการพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อให้เกิดชุมชนตัวอย่าง งานศึกษาชิ้นนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative approach) โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นวิธีการในการได้มาซึ่งข้อมูล ผู้วิจัยเลือกรูปแบบศึกษาเล่าเรื่องราว (Narrative) โดยมีผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นผู้นำชุมชน 2 ท่าน จากชุมชนละ 1 ท่าน หลังจากนั้นข้อมูลที่ได้จะนำมาวิเคราะห์แบบปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenology Analysis) ผลการวิจัยพบว่าผู้นำชุมชนทั้ง 2 ชุมชนมีปัจจัยแห่งความสำเร็จในด้านการให้ความสำคัญกับคนในชุมชน การให้กระบวนการคิดแก่คน  ในชุมชน และการให้คนในชุมชนเห็นการลงมือทำของผู้นำ งานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาชุมชนที่มีบริบททางสังคมและวัฒนธรรมใกล้เคียงกันนำไปปรับใช้ ตลอดจนการพัฒนาต่อยอดชุมชนทั้ง 2 ชุมชนจากผลการศึกษาที่ค้นพบ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
เครือแพทย์ ก., สุขคง อ., ปุรินทราภิบาล ว., & จันทร์แย้ม ก. (2021). การคิดริเริ่มการเปลี่ยนแปลงของผู้นำ: ปัจจัยความสำเร็จของการใช้ภาวะผู้นำในการพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อให้เกิดชุมชนตัวอย่าง . วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21(2), 409–433. https://doi.org/10.14456/lartstu.2021.32
บท
บทความวิจัย

References

กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล. (2562). พฤติกรรมองค์การและการพัฒนาองค์การ. ซีเอ็ดยูเคชั่น.

กาญจนา แสงลิ้มสุวรรณ. (2555). นวัตกรรมทางสังคม: ประโยชน์ที่มีมากกว่าที่คิด. วารสารนักบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ, 32(3), 12-15.

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2563). การนำเสนอทิศทางการส่งเสริมการท่องเที่ยว ของ ททท. ปี 2563. https://www.tatreviewmagazine.com/article/tourism-direction-2020/

ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2561). ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารองค์การ: แนวคิด ทฤษฎีและกรณีศึกษา. ปัญญาชน.

ชานนท์ โกมลมาลย์. (2561). นวัตกรรมทางสังคมเพื่อขับเคลื่อนสุขภาวะโดยการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน. วารสารสังคมสงเคราะห์, 26(1), 120-145.

ณัฏฐ์ ชาคำมูล, ฉันทนา จันทร์บรรจง, ภานุวัฒน์ ภักดีวงศ์, และอนุชา กอนพ่วง. (2556). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงเปลี่ยนผ่านทางสังคมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, วารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยานเรศวร, 15(2), 35-45.

ทวิภัทร บุณฑริกสวัสดิ์. (2561). นวัตกรรมสังคม: ลักษณะ กระบวนการและรูปแบบในด้านต่างๆ. ฐานข้อมูล Youth Innovation Organization, shorturl.at/buBI4

ธมลณัฏฐ์ อุดมพันธุ์, และมณีรัตน์ ภาคธูป. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบภาวะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยในกับการจัดการความขัดแย้งในโรงพยาบาลเอกชน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 10(2), 224-234.

ปิยะพงษ์ ทองดี. (2561). ภาวะผู้นำขององค์การสมัยใหม่. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 36(1), 67-87.

มูลนิธิชัยพัฒนา. (2560). เศรษฐกิจพอเพียง. https://www.chaipat.or.th/site_content/item/3579-2010-10-08-05-24-39.html

รัฐบาลไทย. (2559). กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579). http://www.thaigov.go.th/uploads/document/22/2016/09/pdf/p1.pdf

รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2559). ภาวะผู้นำ: ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รุ่งอรุณ วัฒยากร, และอนุชา กอนพ่อง. (2559). ประวัติชีวิต และภาวะผู้นำเชิงคุณลักษณะของหมอเมืองพล. วารสารปัญญาภิวัตน์, 8(3), 135-148.

วงค์เดือน ภานุวัฒนากูล. (2552). อัตลักษณ์ของคนไทยเชื้อสายจีนท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2559). ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง. เดือนตุลา.

อารีย์ นัยพินิจ, ธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2555). ลักษณะของผู้นำที่ดีในการบริหารองค์ปกครองส่วนท้องถิ่น, วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 29(2), 97-112.

Alfes, K., Truss, C., & Gill, J. (2010). The HR manager as change agent: Evidence from the public sector. Journal of Change Management, 10(1), 109-127.

Alqatawenh, A, S. (2018). Transformational Leadership Style and Its Relationship with Change Management. Verslas: Theorijia ir Praktika/Business: Theory and Practice, 19, 17-24. https://doi.org/10.3846/btp.2018.03

Bass, B. M. (1985). Leadership and performance beyond expectation. Free Press.

Bass, B. M., & Avolio, B. J. (Eds.). (1994). Improving organizational effectiveness through transformational leadership. Sage.

Bass, B. M., & Riggio, R. E. (2006). Transformational leadership. Psychology press.

Burnes, B. (2004). Kurt Lewin and the planned approach to change: a re‐appraisal. Journal of Management studies, 41(6), 977-1002.

Burns, J. M. (1978). Leadership. Harper & Row.

Caldwell, C., Dixon, R, D., Floyd, L, A., Chaudoin, J., Post, J., & Cheokas, G. (2012). Transformative Leadership: Achieving Unparalleled Excellence. Journal of Business Ethics, 109(2), 175-187.

Hechanova, R. M., & Cementina-Olpoc, R. (2013). Transformational leadership, change management, and commitment to change: A comparison of academic and business organizations. The Asia-Pacific Education Researcher, 22(1), 11-19.

Horstmann, A. (2012). Multiculturalism in Thailand: Concept, Policy and Practice. https://lc.mahidol.ac.th/lcjournal/FullPaper/JLC32-1-Alexander-HM.pdf

Huarng, K. H., & Mas-Tur, A. (2016). Turning Kurt Lewin on his head: Nothing is so theoretical as a good practice.

Journal of Business Research, 69(11), 4725-4731. DOI: https://doi.org/10.1016/j.jbusres.2016.04.022.

Kingsley, J., Foenander, E., & Bailey, A. (2020). It’s about community: Exploring social capital in community gardens across Melbourne, Australia. Urban Forestry & Urban Greening, 49, 126640. https://doi.org/10.1016/j.ufug.2020.126640.

Ministry of Agricultural and Cooperative. (2017). National Strategy (2018-2037). https://www.moac.go.th/pyp-dwl-files-402791791893

Murray, R., Mulgan, G., & Caulier-Grice, J. (2008). Generating Social Innovation: Setting an Agenda, Shaping Methods, and Growing the Field. http://www.socialinnovationexchange.org/node/1167

Opollo, J. G., Busby, A, L., Foreman, K., & Richardson, D. (2014). Nursing Administrative Officer: Transforming Nursing Leadership in Acute-Care Hospitals. Nurse Leader, 12(6), 84-90. https://doi.org/10.1016/j.mnl.2014.04.005

Phills, J. A., Deiglmeier, K., & Miller, D. T. (2008). Rediscovering social innovation. Stanford Social Innovation Review, 6(4), 34-43.

Pol, E., & Ville, S. (2009). Social innovation: Buzz word or enduring term?. The Journal of socio-economics, 38(6), 878-885.

Schein, E. H. (1996). Kurt Lewin's change theory in the field and in the classroom: Notes toward a model of managed learning. Systems practice, 9(1), 27-47.

Steger, M. (2017). Globalization: A very short introduction (4th ed.). Oxford University Press.

Surji, K. (2015). Understanding Leadership and Factors that Influence Leaders' Effectiveness. European Journal of Business and Management, 7(33), 154-167. DOI: 10.7176/EJBM/7-33-2015-03

Suutari, V. (2002). Global leader development: An emerging research agenda. Career Development International.

Tourism Authority of Thailand. (2020). Amazing Thailand. https://www.tourismthailand.org/