การพูดติดขัดของผู้สูงอายุไทย: การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมชนิดอัลไซเมอร์ระยะต้น ผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย และผู้สูงอายุที่มีการรู้คิดปรกติ

Main Article Content

อทิตา อมรลักษณานนท์
จุฑามณี อ่อนสุวรรณ
จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต

บทคัดย่อ

ผู้สูงอายุมีการทำงานของสมองเสื่อมถอยลงตามวัย หากการเสื่อมของเซลล์สมองเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมักทำให้เกิดภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (MCI) ซึ่งอาจพัฒนาเป็นภาวะสมองเสื่อมได้ ส่วนภาวะสมองเสื่อมที่พบมาก คือ ภาวะโรคสมองเสื่อมชนิดอัลไซเมอร์ (AD) ทั้งผู้สูงอายุที่มีภาวะ MCI และผู้สูงอายุที่เป็นโรค AD มักมีการใช้ “ภาษาพูด” ที่แสดงให้เห็นการทำงานของสมองที่ถดถอยลงและส่งผลให้เกิด “การพูดติดขัด” ที่มากขึ้น


งานวิจัยนี้ศึกษารูปแบบการใช้และความถี่ที่ปรากฏของการพูดติดขัด 5 ลักษณะ คือ ช่วงหยุดแบบเงียบ ช่วงหยุดเติมเสียง การพูดซ้ำ การเพิ่มความยาวเสียง และการตรวจสอบตนเอง ของกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม คือ ผู้สูงอายุที่มีการรู้คิดปรกติ (NP) 10 คน ผู้สูงอายุที่มีภาวะ MCI 11 คน และผู้ป่วยโรค AD ระยะต้น 10 คน เพื่อศึกษาว่าการพูดติดขัดประเภทใดจะสามารถจำแนกผู้สูงอายุทั้ง 3 กลุ่มออกจากกันได้ รวมทั้งศึกษาว่าความซับซ้อนของเครื่องมือทดสอบชนิดรูปภาพสำหรับบรรยาย (จำนวน 2 ภาพ) ส่งผลต่อการพูดติดขัดหรือไม่ อย่างไร


ผู้ป่วยโรค AD ระยะต้น 10 คน เพื่อศึกษาว่าการพูดติดขัดประเภทใดจะสามารถจำแนกผู้สูงอายุทั้ง 3 กลุ่มออกจากกันได้ รวมทั้งศึกษาว่าความซับซ้อนของเครื่องมือทดสอบชนิดรูปภาพสำหรับบรรยาย (จำนวน 2 ภาพ) ส่งผลต่อการพูดติดขัดหรือไม่ อย่างไร


งานวิจัยนี้ต่อยอดจากงานวิจัยของ Tantibundhit et al. (2016, 2017) ด้วยการวิเคราะห์รูปแบบการใช้การพูดติดขัดด้วยโปรแกรม Praat ผลการศึกษาพบว่าความซับซ้อนของรูปภาพส่งผลต่อการพูด นอกจากนี้พบค่าเฉลี่ยมากที่สุดของความถี่ที่ปรากฏในการพูดติดขัดทุกประเภทในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะ MCI หรือผู้ป่วยโรค AD อย่างไรก็ดีผลทางสถิติแสดงว่าความแตกต่างของการปรากฏของช่วงหยุดเติมเสียงและการตรวจสอบด้วยตนเองมีนัยสำคัญทางสถิติที่จะจำแนกกลุ่มผู้สูงอายุ MCI และผู้ป่วยโรค AD ออกจากกันได้

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
อมรลักษณานนท์ อ., อ่อนสุวรรณ จ., & ตันติบัณฑิต จ. (2021). การพูดติดขัดของผู้สูงอายุไทย: การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมชนิดอัลไซเมอร์ระยะต้น ผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย และผู้สูงอายุที่มีการรู้คิดปรกติ. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 21(2), 299–334. https://doi.org/10.14456/lartstu.2021.28
บท
บทความวิจัย

References

กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2551ก). สุขกายกับวัยสูงอายุ. เรือนปัญญา.

กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2551ข). สูงวัยด้วยใจสุข. เรือนปัญญา.

ชนิษฐา ตียะพาณิชย์, สุขเจริญ ตั้งวงษ์ไชย, และจิรภา แจ่มไพบูลย์. (2559). ความกลัวการล้ม ความเสี่ยงในการล้มและความชุกของการล้มในผู้ที่มีภาวะพุทธิปัญญาบกพร่องเล็กน้อยและภาวะสมองเสื่อม ที่คลินิกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บำรุงราษฎร์, โรงพยาบาล. (2552). ภาวะสมองเสื่อมตามวัย ความท้าทายของ เวชศาสตร์การฟื้นฟู และป้องกัน. นิตยสารเพื่อสุขภาพ ฉบับที่ 3.

บำรุงราษฎร์, โรงพยาบาล. (2555). หรือเราจะสมองเสื่อมเสียแล้ว. นิตยสารเพื่อสุขภาพ, 25.

ทัศนีย์ ตันติฤทธิศักดิ์, และอรุณี ประจัญอธรรม. (2555). การวินิจฉัยและรักษาภาวะสมองเสื่อม. ในสรุปการประชุมระดมสมองเพื่อพัฒนานโยบายการป้องกัน รักษา และดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมในประเทศไทย. โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และสมาคมผู้ดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมแห่งประเทศไทย

ตุลยา นครจินดา, ธนภรณ์ อนันต์สิริภิญโญ, อดิเรก มุลทุลี, จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต, โสฬพัทธ์ เหมรัญช์โรจน์, กฤษณ์ โกสวัสดิ์, และจุฑามณี อ่อนสุวรรณ. (2563). รูปแบบการเชื่อมโยงความในภาษาไทยของผู้สูงอายุโรคสมองเสื่อมอัลไวเมอร์. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 39(1), 59-88.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2557). พจนานุกรมศัพท์ภาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์). อรุณการพิมพ์.

วรพรรณ เสนาณรงค์. (2552). สมองเสื่อมเป็นฉันใด. สมาคมผู้ดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม, 11(2), 9-12.

วรพรรณ เสนาณรงค์. (2559). รู้ทันสมองเสื่อม. อมรินทร์เฮลท์.

วลัยพร นันท์ศุภวัฒน์. (2552). การพยาบาลผู้สูงอายุ: ความท้าทายกับภาวะประชากรสูงอายุ. ขอนแก่นการพิมพ์.

วีรศักดิ์ เมืองไพศาล. (2561). เกณฑ์ในการวินิจฉัยภาวะสมองเสื่อม. http://www.si.mahidol.ac.th/project/geriatrics/network_title1_2.html

วีรศักดิ์ เมืองไพศาล. (2552). ตำราอายุรศาสตร์: การดูแลผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อม. หมอชาวบ้าน.

ศูนย์วิจัยสุขภาพ ในเครือโรงพยาบาลกรุงเทพ. (2541). โรคอัลไซเมอร์: สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง วิธีรักษา และ แนวทางป้องกัน. นนทชา แหวนหล่อ, นพ. (เรียบเรียง) http://www.bangkokhealth.com/index.php/health/health-system/brain/2221-2012-10-22-03-34-13.html

สิรินทร ฉันศิริกาญจน. (2556). คู่มือยืดอายุสมอง. รักลูกกรุ๊ป.

สุปราณี บุญวัง. (2554). ภูมิหลังและลักษณะพฤติกรรมในช่วงการเปลี่ยนผ่านของผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ. (2550). Mild Cognitive Impairment. วารสารคลินิก, (271). http://doctor.or.th/node/7374

Alzheimer’s Association. (2012). Alzheimer’s disease facts and figures. Alzheimers Dement 2012, 8.

Alzheimer’s research and prevention foundation. (2018). Mild Cognitive Impairment (MCI) & Early Alzheimer’s Disease: Symptoms, Diagnosis and Treatment. http://www.alzheimersprevention.org/downloadables/MCI_web.pdf

Alzheimer Society Canada. (2018). About the brain. https://alzheimer.ca/en/Home/About-dementia/Alzheimer-s-disease/About-the-brain

Bayles, K. A., Boone, D. R., Kaszniak, A. W., & Stern, L. Z. (1982). Language impairment in dementia. Arizona Medicine, 39(5).

Bortfeld, H., Leon, S., Bloom, J., Schober, M., & Brennan, S. (2001), Disfluency rates in conversation: Effects of age, relationship, topic, role, and gender. Language and Speech, 44(2), 123-147.

Burke, D. M., & Shafto, M. A. (2004). Aging and Language Production. Curr Dir Psychol Sci., 13(1), 21-24. doi:10.1111/j.0963-7214.2004.01301006.

Campione, E., & Véronis, J. (2005). Pauses and hesitations in French spontaneous speech. Proceedings of DiSS’05, Disfluency in Spontaneous Speech Workshop, 10 -12 September 2005, 43- 46.

Chinaei, H. R., Currie, L., Danks, A., Lin, H., Mehta, T., & Rudzicz, F. (2017). Identifying and avoiding confusion in dialogue with people with Alzheimer's disease. Computational Linguistics, 43, 1-42.

Gayraud, F., Lee, H., & Barkat-Defradas, M. (2011). Syntactic and lexical context of pauses and hesitations in the discourse of Alzheimer patients and healthy elderly subjects. Clinical Linguistics & Phonetics, 25(3), 198-209.

Goodglass, H., & Kaplan, E. (1983). Boston Diagnostic Aphasia Examination (BDAE). Distributed by Psychological Assessment Resources, Odessa, FL.

Griffiths, R. (1991). The paradox of comprehensible input: Hesitation phenomena in L2 teacher talk. JALT Journal, 13(1), 23-38.

Guinn, C., & Habash, A. (2012). Language analysis of speakers with dementia of the Alzheimer’s type. AAAI Fall Symposium Series, (pp. 8-13), Menlo Park, CA.

Hodges, J. R. (1994). Cognitive Assessment for Clinicians. Oxford University Press, 5-19.

Hoffmann, I., Németh, D., Dye, C., Pákáski, M., Irinyi, T., and Kálmán, J. (2010). Temporal features of spontaneous speech in Alzheimer’s disease. Int. J. Speech Lang. Pathol, 12, 29–34. doi:10.3109/17549500903137256

Hooper, C. R., & Cralidis, A. (2009). Normal changes in the speech of older adults. You’ve still got what it takes, it just takes a little longer! Perspectives on Gerontology, 14(2), 47-56.

K´alm´an J., P´ak´aski M., Hoffmann I., Drotos G., Darvas G., Boda K., Bencsik T., Gyimesi A., Guly´as Z., & B´alint, M. (2013). Early mental test - developing a screening test for mild cognitive impairment, 66(1-2), 43-52.

Kasper, D. L. et al. (2015). Harrison's Principles of Internal Medicine (19th ed.). McGraw-Hill Education.

Lee, H., Gayraud, F., Hirsch, F., & Barkat-Defradas, M. (2011). Speech dysfluencies in normal and pathological aging: a comparison between Alzheimer patients and healthy elderly subjects. The 17th International Congress of Phonetic Sciences, Aug Hong Kong, China, 1174-1177.

Levelt, W. J. M. (1983). Monitoring and self-repair in speech. Cognition, 14, 41-104.

Levelt, W. J. M. (1989). Speaking: From intention to articulation. MIT Press.

López-de-Ipiña, K., Alonso, J. B., Travieso, C. M., Solé-Casals, J., Egiraun, H., & Faundez-Zanuy, M. (2013). On the selection of non-invasive methods based on speech analysis oriented to automatic Alzheimer disease diagnosis. Sensor, 13, 6730-6745. doi:10.3390/s130506730

Martínez-Sánchez, F., Meilán, J. J. G., Vera-Ferrandiz, J. A., Carro, J., Pujante-Valverde, I., Ivanova, O., & Carcavilla, N. (2017). Speech rhythm alterations in Spanish-speaking individuals with Alzheimer’s disease. Aging, Neuropsychology and Cognition, 24(4), 418-434.

Meilan, J., Martnez-Snchez, F., Carro, J., L´opez, D., Millian-´Morell, L., & Arana, J. (2014). Speech in Alzheimer’s disease: can temporal and acoustic parameters discriminate dementia?. Dementia and Geriatric Cognitive Disorders, 37(5-6), 327-334.

Meilán, J. J. G., Martínez-Sanchez, F., Carrol, J., Sánchez, J. A., & Pérez, E. (2012). Acoustic markers associated with impairment in language processing in Alzheimer’s disease. Span. J. Psychol. 15, 2081-2090. doi:10.5209/rev_SJOP.2012.v15.n2.38859

Memory and aging center, The University of California San Francisco. (2003). Memory. https://memory.ucsf.edu/memory

National Dementia Helpline. (2017). What is dementia?. https://www.dementia.org.au/files/helpsheets/Helpsheet-AboutDementia01-WhatIsDementia_thai.pdf

Nebes, R. D., Brady, C. B., & Huff, F. J. (1989). Automatic and attentional mechanisms of semantic priming in Alzheimer’s disease. J. Clin. Exp. Neuropsychol. 11, 219-230. doi:10.1080/01688638908400884

Orange, J. B., Lubinsky, R. B., & Higginbotham, D. J. (1996). Conversational repair by individuals with dementia of the Alzheimer’s type. Journal of Speech and Hearing Research, 39, 881-895.

Postma, A. (2000). Detection of errors during speech production: a review of speech monitoring model. Cognition, 77, 97-131.

Roark, B., Hosom, J. P., Mitchell, M., & Kaye, J. A., (2007). Automatically Derived Spoken Language Markers for Detecting Mild Cognitive Impairment," in Proceedings of the 2nd International Conference on Technology and Aging (ICTA), Toronto, Canada.

Rose, R. L. (1998). The Communicative Value of Filled Pauses in Spontaneous Speech (Master’s thesis). University of Birmingham.

Satt, A., Hoory, R., K¨onig, A., Aalten, P., & Robert, P. (2014). Speech based automatic and robust detection of very early dementia, in Proceedings of Interspeech, Singapore, (pp. 2538-2542).

Shriberg, E. (2005). Spontaneous speech: How people really talk and why engineers should care. https://www.researchgate.net/publication/221485053_Spontaneous_speech_How_people_really_talk_and_why_engineers_should_care

Shriberg, E. (2001). To `errrr' is Human: Ecology and Acoustics of Speech Disfluencies. Journal of the International Phonetic Association, 31(1), 153-169.

Szatloczki, G., Hoffmann, I., Vincze, V., Kalman, J., & Pakaski, M. (2015). Speaking in Alzheimer’s Disease, is That an Early Sign? Importance of Changes in Language Abilities in Alzheimer’s Disease. https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4611852/

Taler, V., & Phillips A. N. (2008). Language performance in Alzheimer’s disease and mild cognitive impairment: A comparative review. Journal of clinical and experimental neuropsychology, 30(5).

Tantibundhit, C., Hemrungrojn, S., Onsuwan, C., Kosawat, K., Pornprasertsakul, K.,

Pathomwattananuruk, K., & Ngowjungdee, Y., (2016). Voice recognition assessment tool for screening Alzheimer’s Disease. In 44th International Exhibition of Inventions of Geneva. Gold Medal with The Congratulations of The Jury.

Tantibundhit, C., Onsuwan, C., Hemrungrojn, S., Kosawat, K., Pornprasertsakul, K., Phuechpanpaisal, S., Ngowjungdee, Y., Pathomwattananuruk, K., & Anansiripinyo, T. (2017). Automated Alzheimer’s and mild cognitive impairment screening using speech analysis on mobile application. In 45th International Exhibition of Inventions of Geneva. Gold Medal with The Congratulations of The Jury.

Thornbury, S. (2011). Speaking Instruction. In Burns, A. & Richards, J. (Eds.). The Cambridge Guide to Pedagogy and Practice in Language Teaching. Cambridge University Press.

Tóth, L., Gosztolya, G., Vincze, V., Hoffmann, I., Szatlóczki, G., Biró, E. (2015). Automatic detection of mild cognitive impairment from spontaneous speech using ASR. Interspeech 2015 Tutorials & Main Conference Germany Dresden.

Ward, W. (1989). Understanding spontaneous speech. http://www.anthology.aclweb.org/H/H89/H89-1018.pdf