กลวิธีการสอนภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ได้นำเสนอแนวคิดการสอนภาษาไทยเพื่อการสื่อสารให้แก่ผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษา ต่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกรอบแนวคิดการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยในฐานะภาษา ต่างประเทศสำหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศ ตามแนวคิดภาษาเพื่อการสื่อสาร ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ความสามารถด้านภาษาไทยเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการเรียนการสอน แบบเน้นประสบการณ์ (Experience - Based Approach) ร่วมกับแนวคิดการสอนแบบอัตถภาค (Genre - Base Approach) เป็นอีกแนวคิดหนึ่งที่พัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติ อันจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ดีในการเรียนภาษาไทยมากขึ้น
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 18). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นวลทิพย์ เพิ่มเกษร. (2552). การจัดหลักสูตรการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. วรรณวิทัศน์, 9, 107-120.
ปรียา หิรัญประดิษฐ์. (2545). สถานภาพการเรียน และการสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ ในประเทศไทย (รายงานผลการวิจัย). นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มีชัย เอี่ยมจินดา. (2548). การเรียนรู้ภาษาที่สอง. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2(2), 54-61.
รุ่งฤดี แผลงศร. (2560). ศาสตร์การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิโรจน์ อรุณมานะกุล. (2559). ทฤษฎีภาษาศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2561 จาก http://pioneer.chula.ac.th/~awirote/courses/ling-theo/lingtheo58.pdf
ศรีวิไล พลมณี. (2545). พื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมพงศ์ วิทยศักดิ์พันธุ์. (2544). ภาษาไทยยุคปี 2000. มนุษยศาสตร์สาร, 2(1), 43-55.
สิรจิตต์ เดชอมรชัย. (2556). การสอนภาษาฝรั่งเศสในฐานภาษาต่างประเทศ: แนวคิดและวิธีการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์. (2536). การพัฒนาการสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษาเล่ม 3. กรุงเทพฯ: ประยูรวงศ์พริ้นท์ติ้ง.
อรุณี วิริยะจิตรา. (2532). การเรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
Brown, D. H. (2007). Principles of language learning and teaching (4th ed.). White Plains, NY: Longman.
Canale, M., & Swain, M. (1980). Theoretical bases of communicative approaches to second language teaching and learning. Applied linguistics, 1, 1-47.
Chomsky, N. (1957). Syntactic structures. The Hague: Mouton.
Dewey, J. (1938). Experience & education. New York, NY: Kappa Delta Pi.
Dobson, J. M. (2003). Teaching Strategies 1 for the Teaching of Communication Arts: Listening, Speaking, Reading and Writing (3rd ed.). Makati: Katha
Frances, C. (1989). Language development in education. In R. Hasan & J.R. Martin (Eds.), Language development: Learning language, learning culture. meaning and choice in language (pp. 152-198). Norwood, NJ: Ablex.
Halliday, M. A. K. (1973). Explorations in the functions of language. London: Edward Arnold.
Kolb, D. A. (1984). Experiential learning: Experience as the source of learning and development. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.
Krashen, S. D., & Terrell, T. D. (1983). The natural approach language acquisition in the classroom. Hayward, CA: The Alemany Press.
Kurse, K. (2014). Introduction to instructional design and the addie model. Retrieved November 3, 2014 from https://www.e-learninggguru.com/articles/art_2l.htm