อิทธิพลของ “เชกสเปียร์” แบบวิกตอเรียนและความหวาดระแวง “ยิวแห่งบูรพทิศ” ในการแปล เวนิสวานิช
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นว่าการแปลเป็นกระบวนการแปลงสารที่ก่อให้เกิดงานเขียนใหม่ ซึ่งต่างจากต้นฉบับอย่างมีนัยยะสำคัญ สภาพสังคมการเมืองปลายทาง ลักษณะทางภาษา และตัวผู้แปลล้วนมีส่วนทำให้เกิดการแปลงสารอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ บทความนี้ใช้ บทละคร เวนิสวานิช พระราชนิพนธ์แปลในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงแปลมาจากบทละคร The Merchant of Venice ของวิลเลียม เชกสเปียร์ เป็นกรณีศึกษา บทความนี้มุ่งเน้นประเด็นที่ว่าบทละครแปลต่างจากบทละครต้นฉบับเพราะได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมยุควิกตอเรียน ซึ่งนิยมบรรยายฉากอย่างละเอียดและตัดตลกโลนออกจากบท นอกจากนั้นบทแปลยังได้รับอิทธิพลจากสภาพสังคมการเมืองปลายทาง ซึ่งแปลงไชล็อกให้กลายเป็นพ่อค้าเงินหน้าเลือด อันสอดคล้องกับลักษณะของ “พวกยิวแห่งบูรพทิศ” ตามทัศนะของผู้แปล
Downloads
Article Details
References
เทพ บุญตานนท์. (2559). การเมืองในการทหารไทย สมัยรัชกาลที่ ๖. กรุงเทพฯ: มติชน.
นวพร เรืองสกุล. (2560). เบื้องหลัง เงินตรา และ นายธนาคาร. กรุงเทพฯ: Knowledge.
ประเทือง ทินรัตน์. (2543). การแปลเชิงปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ปัทมา จันทร์เจริญสุข. (2554). การเมืองและความเป็นการเมืองในบทพระราชนิพนธ์แปล “เวนิสวานิช” (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ปิ่น มาลากุล. (2539). งานละครของพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าแผ่นดินสยาม. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
พิพิธภัณฑ์ธนาคารไทย. (2553). พระบิดาแห่งธนาคารไทย. สืบค้นจาก https://www.thaibankmuseum.or.th/museum204.php
พิมพันธุ์ เวสสะโกศล. (2555). การแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2548). เวนิสวานิช. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
ยุพร แสงทักษิณ. (2548). บทเสริมท้าย เวนิสวานิช พระราชนิพนธ์. ใน เวนิสวานิช (น. 214-232). กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
วรนาถ วิมลเฉลา. (2539). คู่มือสอนแปล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรรณา แสงอร่ามเรือง. (2542). ทฤษฎีและหลักการแปล. กรุงเทพฯ: โครงการตำราอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัลยา วิวัฒน์ศร. (2557). การแปลวรรณกรรม. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สายชล สัตยานุรักษ์. (2551). ประวัติศาสตร์การสร้าง “ความเป็นไทย” กระแสหลัก. ใน กฤตยา อาชวนิจกูล (บรรณาธิการ), จินตนาการความเป็นไทย (น. 61-84). กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม และศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล.
สิริลักษณ์ สัมปัชชลิต. (2552). ต้นกำเนิดของชนชั้นนายทุนในประเทศไทย (พ.ศ. ๒๓๙๘ - ๒๔๕๓). กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊คส์.
อัศวพาหุ. (2528). พวกยิวแห่งบูรพทิศและเมืองไทยจงตื่นเถิด. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.
Hartnoll, P. (1983). The Oxford companion to the theatre. Oxford: Oxford University Press.
Lefevere, A. (2017). Translation, rewriting, and the manipulation of literary fame. London: Routledge.
______. (2011). Henry Irving. In R. Schoch (Ed.), Great Shakespeareans: Macready, Booth, Irving and Terry (pp. 127-172). London: Continuum.
______. (2002). Pictorial Shakespeare. In S. Wells & S. Stanton (Eds.), The Cambridge companion to Shakespeare on stage (pp. 58-75). Cambridge: Cambridge University Press.
Shakespeare, W. (1900). The Merchant of Venice as presented at the Lyceum Theatre. Chicago: Rand, McNally & Company.
______. (1898). The Merchant of Venice. London.
______. (1600). The Merchant of Venice. Retrieved from https://internetshakespeare.uvic.ca/doc/MV_Q1/complete/
A Court Scandal, Court Theatre (1899). Retrieved from https://www.old-print.com/cgi bin/item/J4510899833/search/35-Print-Court-Scandal-Court-Theatre-Ladies-Men-Sword-Fight-1899-833J451-Old-Original
Illustration of Three Pantomimes of the 1897 Christmas Season. (1898). Retrieved from https://www.library.illinois.edu
Swan Theatre. Retrieved from https://www.theatre-architecture.eu/db.html?theatreId=1139
The Merchant of Venice at the Lyceum. Retrieved from https://www.ebay.co.uk/p/Print-Scenes-Merchant-Venice-Lyceum-Indoor-Outdoor-Sets-Cast