ประวัติศาสตร์ของความซึมเศร้า จาก Melancholia สู่ Depression

Main Article Content

ชนกพร ชูติกมลธรรม

บทคัดย่อ

โรคซึมเศร้าเป็นอาการทางจิตเวชชนิดหนึ่งที่ในปัจจุบันตระหนักกันดีว่าเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข โรคนี้มักถูกเชื่อมโยงเข้ากับวิถีชีวิตสมัยใหม่และระบอบทุนนิยม อาการซึมเศร้านั้นมีปรากฏอยู่เสมอในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ บทความวิชาการนี้ มุ่งแสดงความเป็นมา เชิงประวัติของอาการซึมเศร้าในสังคมตะวันตกตั้งแต่สมัยยุคคลาสสิก ยุคกลาง ยุคเรเนสซองส์ ยุคภูมิธรรม ยุควิคตอเรียน ยุคศตวรรษที่ 20 จนถึงยุคปัจจุบัน ซึ่งแสดงพัฒนาการของความรับรู้เรื่องโรคซึมเศร้า ที่แปรเปลี่ยน ไปตามความเชื่อและหลักคิดที่มีอิทธิพลต่อสังคมในแต่ละยุคสมัยตลอดจนองค์ความรู้ทางการแพทย์ ที่ส่งผลต่อการวินิจฉัย และวิธีการรักษา ทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นว่ามนุษย์ให้ความสำคัญและนิยามความหมายของอาการซึมเศร้าแตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลาของประวัติศาสตร์ อาการซึมเศร้านั้นถูกนิยาม และตีความใหม่อยู่ตลอดเวลา


 


 

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
ชูติกมลธรรม ช. (2019). ประวัติศาสตร์ของความซึมเศร้า จาก Melancholia สู่ Depression. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 19(1), 169–195. https://doi.org/10.14456/lartstu.2019.8
บท
บทความวิชาการ

References

คนไทยป่วยโรคซึมเศร้า 1.5 ล้าน กรมสุขภาพจิต วิจัยใช้ ภูมิปัญญาชาติ เอา“นวดไทย-อโรมา”มารักษา (10 กรกฏาคม 2560), มติชน. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2561, จาก https://www.matichon.co.th/news/600101

นิเวศน์ เหมวชิรวรากร.(2555). ฟองสบู่ทะเลใต้. สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2561, จาก http://www.thaivi.org/%E0%B8%9F%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%83%E0%B8%95%E0%B9%89/

สุวรรรณา อรุณพงค์ไพศาล, และพิเชฐ อุดมรัตน์. (2558). ประวัติความเป็นมาของโรคซึมเศร้า. ใน สุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล และ สรยุทธ วาสิกนานนท์ (บรรณาธิการ), ตำราโรคซึมเศร้า. (น.1-28). ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.

Bovey, A. (2015). Medicine, diagnosis and treatment in the Middle Ages. Retrieved from https://www.bl.uk/the-middle-ages/articles/medicine-diagnosis-and-treatment-in-the-middle-ages

Hidaka, B. H. (2012). Depression as a disease of modernity: explanations for increasing prevalence. Journal of Affective Disorders, 140(3), 205-214.

Horwitz, A., Wakefield, J., & Lorenzo-Luaces, L. (2016). History of Depression. Oxford Handbooks Online. doi: 10.1093/oxfordhb/9780199973965.013.2

Lawlor, C. (2012). From melancholia to prozac : a history of depression. Oxford: Oxford University Press.

Mendelson, M. (2016). Saint Augustine. In E.N. Zalta (Ed.), The Stanford Encyclopedia of Philosophy (Winter 2016 Ed.). Retrieved from https://plato.stanford.edu/archives/win2016/entries/augustine/

Moore, E. (n.d.). Neo-Platonism. In Internet Encyclopedia of Philosophy. Retrieved from https://www.iep.utm.edu/neoplato/#SSH3a.i

British Library. (n.d.). Burton’s Anatomy of Melancholy, 1628. Retrieved from https://www.bl.uk/collection-items/burtons-anatomy-of-melancholy-1628#

Neubauer, J. (1967). Dr.John Brown 1735-88) and Early German Romanticism. Journal of the History of Ideas, 28(3), 367-382.

Philippe P. (2018). In Encyclopædia Britannica. Retrieved from https://www.britannica.com/biography/Philippe-Pinel

Renaissance. (2018). In Encyclopædia Britannica. Retrieved from https://www.britannica.com/event/Renaissance

Romanticis. (2017). In Encyclopædia Britannica. Retrieved from https://www.britannica.com/art/Romanticism

Russell, B. (2004). History of Western philosophy. London New York: Routledge.

Walker, C. (2008). Depression and globalization : the politics of mental health in the 21st century. New York: Springer.

World Health Organization. (2017). Depression and Other Common Mental Disorders: Global Health Estimates. Geneva. Retrieved from http://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/254610/WHO-MSD-MER-2017.2-eng.pdf;jsessionid=C531D1068295965212E4F8653A63554C?sequence=1