การเมืองเฟื่องภาษา

Main Article Content

วรรณี พุทธเจริญทอง

บทคัดย่อ

การเมืองทำให้เกิดการนำคำที่มีความหมายเดิมมาใช้ในความหมายใหม่มากขึ้นในวงการสื่อสารมวลชน เพื่อแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรม ทัศนคติ บุคลิกลักษณะและการบริหารงานของนักการเมืองทั้งหลาย  ซึ่งคำที่ใช้ก็จะมีการนำคำที่มีความหมายเดิมอยู่แล้วมาสร้างให้เกิดความหมายใหม่หรืออาจจะสร้างคำใหม่ขึ้นตามบริบทของสังคมการเมืองในขณะนั้น คำต่างๆ  ที่สื่อมวลชนใช้จะทำให้ผู้เสพที่เป็นผู้อ่านข่าวสารบ้านเมืองอยู่เสมอสามารถเข้าใจและสื่อความหมายได้ เป็นที่น่าสังเกตว่าการเมืองในยุค  พ.ต.ท.  ทักษิน  ชินวัตร และหลังจากนั้นได้มีการใช้วาทะทางการเมือง การใช้สัญลักษณ์  และรูปแบบต่างๆ  ของการเคลื่อนไหวทางการเมืองมากกว่าปกติอย่างเห็นได้ชัดตามสื่อสิ่งพิมพ์

Neologisms abounds  in  the press  as  the it tries  to account  for politicians’  behavior, attitudes, personalities and  administrative abilities. The new words can be formed  through conversation or  as original  coinages  to match  current  affairs. These words help  new readers understand the  situations.  It is notable that, since  Thaksin Shinawatra’s governments, there have been  significantly  more neologisms,  metaphors  and  political movement  in the  press.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
พุทธเจริญทอง ว. (2013). การเมืองเฟื่องภาษา. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 11(2), 135–146. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/liberalarts/article/view/11920
บท
บทความ