รูปแบบการใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจยุคดิจิทัล สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนในยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • วัลลภ สุรทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

คำสำคัญ:

หลักธรรม, เศรษฐกิจยุคดิจิทัล, การพัฒนาที่ยั่งยืน

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจยุคดิจิทัลสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนในยุคดิจิทัล ผลการศึกษาพบว่าหลักการและวิธีการทางด้านเศรษฐกิจของพุทธธรรมนั้น เป็นการดำเนินการทางเศรษฐกิจทั้งด้านการผลิต การบริโภค การกระจาย และการแลกเปลี่ยน ซึ่งอธิษฐานธรรม เป็นธรรมที่มีความสำคัญต่อมนุษย์เราเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นธรรมที่มุ่งเน้นให้คนเป็นคนที่มีการพัฒนาชีวิต มีหลักยึด
มีอุดมการณ์ที่แน่วแน่ เป็นไปเพื่อประโยชน์ต่อตนเองและบุคคลอื่น ทำให้ประสบความสำเร็จในชีวิต เมื่อผู้บริหารองค์กรมีอธิษฐานธรรมแล้ว ย่อมทำให้มีความมั่นคงในธรรม ทำให้กำหนดนโยบายนำพาองค์กรไปสู่องค์กรที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยขับเคลื่อนเศรษฐกิจยุคดิจิทัลสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนในยุคดิจิทัล

References

บุญมี แท่นแก้ว. (2530). จริยศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดี่ยนสโตร.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2538). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาทองคูณ ธีรปญฺโญ. (2549). การศึกษาเปรียบเทียบเรื่อง นิพพานในพระพุทธศาสนาเถรวาทมหานิกายโยคาวจารและวัดพระธรรมกาย (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระวรศักดิ์ วรธมฺโม. (2540). พุทธจริยธรรมเพื่อมนุษยชาติ (ฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.

พิชญาภัค เพชรสีสุข. (2565). ESG แนวคิดความยั่งยืนที่องค์กรควรใช้เป็นเครื่องมือ หรือแค่เทรนด์ตามกระแส. สืบค้น 3 มกราคม 2565, จาก https://shorturl.asia/XdmcC

มูลนิธิพระราชศรัทธา. (2537). พระธรรมเทศนา กัณฑ์ที่ 29 เรื่องอธิษฐานธรรมความดีมั่นคง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เลี่ยงเซียง.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: ศิริวัฒนา อินเตอร์พริ้น.

สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2538). พจนานุกรมศัพท์พระพุทธศาสนา (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

สุทธิพงศ์ ตันตยาพิศาลสุด และคมสันต์ สังฆมณี. (2551). ประมวลสารคดีธรรม เรื่อง ทำไมคนเราต้องมีศาสนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.

อภิญญา สิระนาท. (2564). การนำเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGS) มาวัดผลกระทบมีความสำคัญต่อภาคธุรกิจอย่างไร?. สืบค้น 3 มกราคม 2565, จาก https://shorturl.asia/p1LGq

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-09-01

How to Cite

สุรทศ ว. (2024). รูปแบบการใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจยุคดิจิทัล สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนในยุคดิจิทัล. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 13(5), 484–492. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/267029