พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ในยุคล่าอาณานิคม
คำสำคัญ:
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ยุคการล่าอาณานิคม, จักรวรรดินิยมบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบริบททางการเมืองในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ต่อการล่าอาณานิคมของจักรวรรดินิยมอังกฤษและฝรั่งเศส ตลอดจนการปรับตัวทางยุทธศาสตร์การเมืองของสยาม สมัยรัชกาลที่ 5 ต่อการล่าอาณานิคมจักรวรรดินิยมอังกฤษและฝรั่งเศส โดยเฉพาะความขัดแย้งที่เกิดจากการลัทธิการล่าอาณานิคมของฝรั่งเศสในช่วงศตวรรษที่ 19 และการดำเนินนโยบายทางการเมืองที่ผิดพลาดของสยาม ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ประเทศตกต่ำลงเรื่อย ๆ จนกลายเป็นวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 นับเป็นเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สร้างรอยร้าวให้แก่ความสัมพันธ์สยาม-ฝรั่งเศส มากที่สุดเหตุการณ์หนึ่ง และเหตุการณ์นี้มักจะถูกนำมากล่าวถึงอยู่เสมอเพื่อสร้างแนวคิดชาตินิยมเช่นเดียวกับแบบก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างไรก็ตามวิกฤตครั้งนี้ นับเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเร่งให้เกิดการปฏิรูปและการพัฒนาประเทศอย่างรวดเร็วในตอนปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันนำไปสู่การยอมรับจากนานาประเทศและช่วยให้ประเทศสยามรอดพ้นจากการเป็นอาณานิคมของมหาอำนาจตะวันตก
References
กองทัพเรือ. (2557). รัชกาลที่ 5. สืบค้น 21 มีนาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/Wtsvd
โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. (2560). การปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : ประสบการณ์จากสิงคโปร์ชวา และอินเดียพ.ศ. 2413 -2415. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal), 6(1), 1-30.
จารุวรรณ สุขุมาลพงษ์. (2559). วิกฤติการณ์ รศ.112. สืบค้น 21 มีนาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/F3RwO
จุฬาลงกรณ์ราชบรรณาลัย. (2564). พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. สืบค้น 21 มีนาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/pHWo5
นรพัชร เสาธงทอง และคณะ. (2557). การพัฒนาสมุททานุภาพของรัฐไทย. สืบค้น 21 มีนาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/SpmDh
เบญจา รุ่งเรืองศิลป์. (2560). คลังข้อมูลดิจิทัลเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. สืบค้น 21 มีนาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/fGgMm
ลิขิต ธีรเวคิน. (2551). การสร้างรัฐชาติและการสร้างชาติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิมลพรรณ ปีตธวัชชัย. (2547). สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ กรุงเทพฯ (1984) จำกัด.
ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. (2555). พระราชวิเทโศบายในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. สืบค้น 21 มีนาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/Roytp
______. (2560). ความทุกข์ในพระราชหฤทัยรัชกาลที่ 5 เมื่อสยามต้องเสียดินแดน. สืบค้น 21 มีนาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/HKqv9
สถาบันดำรงราชานุภาพ. (2565). ความเป็นมาของกระทรวงมหาดไทย. สืบค้น 21 มีนาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/CDGyt
สุภักดิ์ อนุกูล. (2530). วันสำคัญของไทย. สืบค้น 22 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.lib.ru.ac.th/journal/oct/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น