แบบจำลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความตั้งใจซื้อบ้านอัจฉริยะ ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
บ้านอัจฉริยะ, การตลาดสื่อสังคมออนไลน์, ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อบ้านอัจฉริยะบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อบ้านอัจฉริยะ เพื่อทดสอบความสอดคล้องของแบบจำลองที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ เพื่อศึกษาอิทธิพลทางตรงและอิทธิพลทางอ้อมของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อบ้านอัจฉริยะ ประชากรของการวิจัยคือ ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีความสนใจซื้อบ้านอัจฉริยะโดยพิจารณาจากการเป็นสมาชิกเฟสบุ๊คแฟนเพจของโครงการบ้านจัดสรรอัจฉริยะชั้นนำในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 460 คน ใช้การสุ่มแบบหลายขั้นตอนในการสุ่มตัวอย่างของการวิจัย เครื่องมือสำหรับการวิจัยคือแบบสอบถามออนไลน์
ผลการวิจัยพบว่า ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 (P-value < 0.01) การตลาดสื่อสังคมออนไลน์มีอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจซื้อทางบวก มีอิทธิพลทางอ้อมต่อความตั้งใจซื้อผ่านภาพลักษณ์ขององค์กรและการบอกต่อแบบปากต่อปากทางอิเล็กทรอนิกส์ ภาพลักษณ์ขององค์กรมีอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจซื้อทางบวก การบอกต่อแบบปากต่อปากทางอิเล็กทรอนิกส์มีอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจซื้อทางบวก การรับรู้ความง่ายในการใช้มีอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจซื้อทางบวก การรับรู้ประโยชน์การใช้งานมีอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจซื้อทางบวก
References
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2562). การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ด้วย AMOS (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สามดลา.
ไทยโพสต์ (2562). เทรนด์กระแสบ้านอัจฉริยะ. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.thaipost.net/main/detail/29499
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา. (2564). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2564-2566 : ธุรกิจที่อยู่อาศัยต่างจังหวัด (6 จังหวัดหลัก). สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/Real -Estate/housing-in-upcountry/IO/io-Housing-in-Upcountry-21
ธนาคารอาคารสงเคราะห์. (2562). ศูนย์ข้อมูลอสังหาฯธอส. ชี้ตลาดที่อยู่อาศัยโต5-7%หลังผ่อนปรนเกณฑ์LTV. สืบค้น 25 พฤศจิกายน 2564, จาก ttps://www.reic.or.th/News/RealEstate/441466
หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ.(2563). ตลาดบ้านอัจริยะมาแรง ในยุค COVID-19 ลุมพินี วิสดอม เผยโตแรง 40%ต่อปี. สืบค้น 20 ธันวาคม 2564, จาก https://www.thansettakij.com/property/487802
Ahn, T., et al. (2014). Understanding purchasing intentions in secondary sports ticket websites Trust. International Journal of Sports Marketing and Sponsorship, 16(1), 35-49.
Alshurideh, M. T., et al. (2021). The moderation effect of gender on accepting electronic payment technology: a study on United Arab Emirates consumers. Review of International Business and Strategy. 31(3), 375-396.
BEROE. (2021). Digital Marketing Services: Market, Supplier, Risk and Competitive Intelligence. Retrieved October 20, 2021, from https://www.beroeinc.com/category-intelligence/digital-marketing-ser vices-market/
Eisinga R., et al. (2012). The reliability of a two-item scale: Pearson, Cronbach or Spearman-Brown. International Journal of Public Health. 58(4), 637-42.
Fianto, A. Y. A., et al. (2014). The influence of brand image on purchase behaviour through brand trust. Business Management and Strategy, 5(2), 58–76.
Hansen, J. M., et al. (2020). Risk, trust, and the interaction of perceived ease of use and behavioral control in predicting consumers’ use of social media for transactions. Computers in Human Behavior, 80, 197-206.
Mahmud, I., et al. (2020). Impact of electronic word of mouth on customers’ buying intention considering trust as a mediator: A SEM Approach. Global Business Review, 1-15(in press).
Manzoor, U., et al. (2020). Impact of social media marketing on consumer’s purchase intentions: The mediating role of customer trust. International Journal of Entrepreneurial Research, 3(2), 41-48.
Maria, S., et al. (2019). The effect of social media marketing, word of mouth, and effectiveness of advertising on brand awareness and intention to buy. Journal Manajemen Indonesia. 19(2), 107–122.
Nuseir, M.T. (2019). The impact of electronic word of mouth (e-WOM) on the online purchase intention of consumers in the Islamic countries – a case of (UAE). Journal of Islamic Marketing, 10(3), 759-767.
Sannya, L., et al. (2020). Purchase intention on Indonesia male’s skin care by social media marketing effect towards brand image and brand trust. Management Science Letters, 10(10), 2139-2146.
Shabbir, S., et al. (2017). Cause related marketing campaigns and consumer purchase intentions: The mediating role of brand awareness and corporate image. African Journal of Business Management, 4(6), 1229-1235.
Statista Research Department. (2021). Social media marketing worldwide – statistics & facts. Retrieved October 25, 2021, from https://www.statista.com/topics/1538/social-media-marketing/#dossierKeyfigures
Sulthana, A. V. & Vasantha, S. (2019). Influence Of electronic word of mouth eWOM on purchase intention. International Journal of Scientific & Research, 8(10), 1-5.
Tapanainen, T., et al. (2019). The role of corporate image and privacy concerns in adopting online travel services. The Journal of Information Systems, 28(3), 1-23.
Think of Living. (2563). รวมข้อมูลตลาดบ้านอัจฉริยะ สืบค้น 27 พฤศจิกายน 2564, จาก https://thinkofliving.com/tag/%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%89%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B0/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น