การประยุกต์ใช้ทฤษฎีปัญญาสังคมเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติน้ำท่วมในอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
คำสำคัญ:
ทฤษฎีปัญญาสังคม, พฤติกรรมการเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ, อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนบทคัดย่อ
การคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) เป็นการคิดแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์จากมุมมองภัยพิบัติน้ำท่วมในประเทศไทยมีแนวโน้มรุนแรงเพิ่มมากขึ้นถึงแม้ว่าภาครัฐจะมีมาตรการในการจัดการน้ำอย่างต่อเนื่อง แต่ก็ยังส่งผลกระทบต่อประชาชนในหลายมิติทั้งทางด้านร่างกายสังคมและเศรษฐกิจ ดังนั้นการป้องกันเพื่อลดกระทบของน้ำท่วมต้องอาศัยพฤติกรรมการเตรียมความพร้อมของบุคคลที่จะช่วยลดความรุนแรงของผลกระทบจากภัยพิบัติน้ำท่วมลง การเตรียมความพร้อมรับภัยพิบัติเป็นการพัฒนาศักยภาพของบุคคลโดยเฉพาะอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนซึ่งจะต้องมีบทบาททั้งดูแลช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือผู้อื่นซึ่งจะต้องพัฒนาให้มีพฤติกรรมการเตรียมความพร้อม บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอพฤติกรรมการเตรียมความพร้อมรับภัยพิบัติน้ำท่วมที่นำทฤษฎีปัญญาสังคมมาใช้ในการพัฒนาพฤติกรรมการเตรียมความพร้อม ประกอบด้วยการรับรู้ความสามารถของตนในการเตรียมความพร้อม การรับรู้ความเสี่ยงภัยพิบัติประสบการณ์รับภัยพิบัติ รวมถึงการประยุกต์ทฤษฎีปัญญาสังคมในการพัฒนาพฤติกรรมการเตรียมความพร้อมรับภัยพิบัติ บทความมีข้อเสนอแนะในการพัฒนาพฤติกรรมการเตรียมความพร้อมให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปเป็นแนวทางการเตรียมความพร้อมรับภัยพิบัติน้ำท่วมสำหรับอาสาสมัครป้องกันฝ่ายพลเรือนต่อไป
References
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (2559). การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ (ฉบับที่3). กรุงเทพฯ: สมาคมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
______. (2559). แผนยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2560-2564กรุงเทพฯ: สมาคมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
______. (2561). รายงานการแจ้งเตือนภัยพิบัติ. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.thairath.co.th/news/local/northeast/1955605.
กรุงเทพธุรกิจ. (2564). แม่สลองใน จ.เชียงราย น้ำท่วมฉับพลัน ชาวบ้านปีนหลังคาหนีน้ำ. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2564, จาก Https://www.bangkokbiznews.com
ทวิดา กมลเวชช. (2554). คู่มือการจัดการภัยพิบัติท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ไทยรัฐออนไลน์. (2564). น้ำท่วมโคราช น้ำจากเขาใหญ่ไหลท่วมปากช่องซ้ำรอบ 2 ระดับน้ำเพิ่มเรื่อย ๆ. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2564, จาก https://shorturl.asia/A5rHI.
สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2556). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Allender, J. A., et al. (2010). Community Health Nursing Promoting & Protecting the Public’s Health (7th ed.). China: Lippincott Williams & Wilkins Health.
Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action: a social cognitive theory. Englewood Cliffs, N.J.: Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall.
Becker, J. S., et al. (2013). Salient beliefs about earthquake hazards and household preparedness. Risk Analysis, 33(9), 1710-1727.
Bubeck, P., et al. (2013). Detailed insights into the influence of flood-coping appraisals on mitigation behaviour. Global environmental change: human and policy dimensions, 23(5), 1327-1338.
Coppola, D. P. (2011). Introduction to International Disaster Management (2nd ed.). Oxford: Butterworth-Heinemann.
Coulston, J. E., & Deeny, P. (2012). Prior Exposure to Major Flooding Increases Individual Preparedness in High-Risk Populations. Prehospital and disaster medicine, 25(4), 289-295.
Dillon, R. L., et al. (2014). Near-misses and future disaster preparedness. Risk Analysis, 34(10), 1906-1922.
Duggan, S., et al. (2010). Perceptions of older people on disaster response and preparedness. International Journal of Older People Nursing, 5(1), 71-76.
Espina, E. (2015). A Social Cognitive Approach to Disaster Preparedness. Philippine Journal of Psychology, 48(2), 161-174.
Glendon, A. I. (2006). Human Safety and Risk Management (Second Edition). Hoboken: Hoboken CRC Press.
Hoffmann, R. & Muttarak, R. (2017). Learn from the Past, Prepare for the Future: Impacts of Education and Experience on Disaster Preparedness in the Philippines and Thailand. World Development, 96(C), 32-51.
Kolb, D. A., & Fry, R. (1975). Towards an applied theory of experiential learning Theories of Group Process (Cooper Ed.). London: John Wiley.
Kron, W. (2015). Flood disasters - a global perspective. Water Policy, 17(S1), 6-24.
Lawrence, J. et al. (2014). Integrating the effects of flood experience on risk perception with responses to changing climate risk. Mitigation of Natural Hazards, 74(3), 1773-1794.
Ohman, S. (2017). Previous Experiences and Risk Perception: The Role of Transference. Journal of Education Society and Behavioural Science, 23(1), 1-10.
Paton, D., et al. (2005). When good intentions turn bad: promoting natural hazard preparedness. Australian Journal of Emergency Management, 20(1), 25-30.
Perry, R.W., & Lindell, M. K. (2008). Volcanic risk perception and adjustment in a multi-hazard environment. Journal of Volcanology and Geothermal Research, 172(3), 170-178.
Rerngnirunsathit, P. (2012). Thailand Country profiles 2011. Retrieved November 20, 2021, from https://www.adrc.asia/latest_disaster.php
Schmidlin, T. W. (2014). Risk Factors and Social Vulnerability. Kent State USA.
Simons-Morton, B., et al. (2012). Behavior theory in health promotion practice and research. Mass: Jones & Bartlett Learning Sudbury.
Spencer, T. (2016). Risk Perception: Theories and Approaches. New York: Nova Science Publishers.
Takao, K., et al. (2011). Factors determining residents’ preparedness for floods in modern megalopolises: the case of the Tokai flood disaster in Japan. Journal of Risk Research, 7(7-8), 775-787.
Thomas, T., et al. (2015). Influences of Preparedness Knowledge and Beliefs on Household Disaster Preparedness. MMWR. Morbidity and Mortality Weekly Report, 64(35), 965-971.
Worldbank. (2012). Note 2–2 Disaster Management Plans. Knowledge Notes, Cluster 2. Nonstructural Measures. Retrieved November 20, 2021 from https://www.preventionweb.net/files/29163_drmkn221.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น