การจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติลาว กัมพูชา และเมียนมาร์ ในช่วงสถานการณ์โควิด-19
คำสำคัญ:
การจัดการแรงงาน, แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ, โควิด-19บทคัดย่อ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลกระทบเชิงลบต่อระบบเศรษฐกิจไทยอย่างมาก ถึงแม้รัฐบาลจะมีมาตรการเยียวยาประชาชน ผู้ประกอบการ แรงงานทั้งในและนอกระบบ ก็ยังไม่สามารถกระตุ้นให้เศรษฐกิจและตลาดแรงงานฟื้นตัวได้ ปัญหาต่อเนื่องคือการลดจำนวนของแรงงานต่างด้าวสัญชาติลาว กัมพูชา และเมียนมาร์ ที่เป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญในการทำงานประเภทงานสกปรก งานยาก และงานเสี่ยงอันตราย ซึ่งเป็นประเด็นเร่งด่วนที่ต้องบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการ เพื่อให้สามารถป้องกัน ดูแล และควบคุมการแพร่ระบาดของโควิด-19 ตามหลักการทางด้านสาธารณสุขและกฎหมายแรงงาน ดังนั้นบทความนี้จึงมุ่งเน้นศึกษาความร่วมมือในการจัดการแรงงานสัญชาติลาว กัมพูชา และเมียนมาร์ ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 เกี่ยวกับประเด็นปัญหา มาตรการ และข้อจำกัดในด้านต่าง ๆ บนฐานแนวคิดการบริหารเชิงสถานการณ์และแนวคิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ส่วนข้อเสนอแนะในการจัดการแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ คือ หน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องควรบูรณาการความร่วมมือกันโดยยึดหลักธรรมาภิบาล หลักสิทธิมนุษยชน หลักความคุ้มค่า และคำนึงถึงสิทธิประโยชน์ของพลเมืองไทยเป็นลำดับแรก เพื่อดำรงไว้ซึ่งความมั่นคงและรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่างยั่งยืน
References
กระทรวงแรงงาน. (2551). ลักษณะความผิดและโทษเกี่ยวกับการทำงานของคนต่างด้าวตามพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2551. สืบค้น 22 ตุลาคม 2564, จาก https://www.mol.go.th/employee/responsibility_litigation
กรมการจัดหางาน. (2564). การยื่นขอรับใบอนุญาตทำงานของคนต่างด้าว (3 สัญชาติ) ตามมติ ครม. วันที่ 4 สิงหาคม 2563. สืบค้น 30 ตุลาคม 2564, จาก https://www.doe.go.th/prd/main/custom/param/site/1/cat/40/sub/0/pull/detail/view/detail/object_id/1512
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, (2564). แนวทางการตรวจโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในการตรวจสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวและแรงงานต่างด้าว. สืบค้น 14 ธันวาคม 2564, จาก https://www.doe.go.th/prd/assets/upload/files/pattani_th/eb536394594315c7b13a4852f83dc9e9.pdf
กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2564). ผลการประชุมศูนย์ปฏิบัติการ ศูนย์บริการสถานการณ์โควิด-19 (ศปก. ศบค.). สืบค้น 12 ธันวาคม 2564,จาก https://r8way.moph.go.th/r8wayadmin/page/uploads_file/20210309043727.pdf
ณฐพล แสวงกิจ. (2561). แนวทางการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวอย่างเป็นระบบของสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ. สืบค้น 22 ตุลาคม 2564, จาก http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560-2561/
ไทยรัฐออนไลน์. (2564). รัฐบาล แจง งบสู้โควิด-19 จ่ายแล้ว 8.7 หมื่นล้าน มีสำรองอีก 3 หมื่นล้าน. สืบค้น 30 ตุลาคม 2564, จาก https://www.thairath.co.th/news/politic/2108741
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ท้องที่นอกราชอาณาจักรที่เป็นเขตติดโรคติดต่ออันตราย กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19. (2563, 22 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 137 ตอนพิเศษ 93 ง. หน้า 16-17.
ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ (2564). ตบมือข้างเดียวไม่ดัง ปมแรงงานต่างด้าว - คนข้ามแดนผิดกฎหมาย เหตุโควิดแพร่กระจายรอบสอง. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ). สืบค้น 11 ธันวาคม 2564, จาก https://tdri.or.th/2021/01/covid-19-impact-on-migrant-workers-3/
ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ และสิรวิชญ์ รัตนประทีปทอง. (2563). ผลกระทบของ Covid-19 ที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งประเทศไทย.
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค. (2563). กรมควบคุมโรค ชี้แจงกรณีค่าตรวจโควิด 19 ในกลุ่มแรงงานต่างด้าว. สืบค้น 14 ธันวาคม 2564, จาก https://ddc.moph.go.th
สำนักบริหารการทะเบียน. (2564).จำนวนแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ (เมียนมาร์ ลาว กัมพูชา) รายจังหวัด. สืบค้น 26 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.bora.dopa.go.th/
สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว. (2564). การผ่อนผันแรงงานต่างด้าวและใบอนุญาตทำงาน. สืบค้น 19 สิงหาคม 2564, จาก https://www.doe.go.th/prd/alien
สำนักงานจัดหางานจังหวัดอุบลราชธานี. (2564). การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว 3 สัญชาติ (กัมพูชา ลาว เมียนมาร์). สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว. สืบค้น 24 กันยายน 2564, จาก https://www.doe.go.th/prd/alien/
Fred, E.F. (1967). The contingency approach. สืบค้น 10 กันยายน 2564, จาก https://www.kroobannok.com/20420
John D. A. & William E. S. (1974). Social service review. The university of Chicago press, 48(3), 412-421.
Self-Awareness. (2013). Situational leadership and developing great teams. Retrieved November 17, 2021, from www.selfawareness.org.uk/news/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น