กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของครูโรงเรียนในพื้นที่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2

ผู้แต่ง

  • สุรสิทธิ์ รอดประเสริฐ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
  • เพชรา บุดสีทา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
  • รัชนีวรรณ บุญอนนท์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

คำสำคัญ:

กลยุทธ์การพัฒนา, คุณภาพชีวิตครู, โรงเรียนในพื้นที่พิเศษ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอ 1. คุณภาพชีวิตการทำงานของครู 2. สภาพปัญหาและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 3. กลยุทธ์ 4. ผลการประเมินกลยุทธ์ เป็นงานวิจัยประเภท การวิจัยและพัฒนา (R&D) ดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ 1. ศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานของครู โดยใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 302 คน 2. การศึกษาสภาพปัญหาและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง โดยใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 302 คน และการสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 13 คน 3. การสร้างกลยุทธ์ โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการ ใช้แบบบันทึกข้อมูล ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 13 คน และการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 11 คน
4. การประเมินกลยุทธ์ โดยใช้แบบประเมิน ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 21 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการ แจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ SWOT Analysis สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ร้อยละ ( ) และ (S.D.)

ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณภาพชีวิตการทำงานของครู มีค่าเฉลี่ยปานกลาง ( =2.65)
2. สภาพมีการดำเนินการเป็นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 54.78) ปัญหามีค่าเฉลี่ยปานกลาง ( =3.45) ปัจจัยภายในมีค่าเฉลี่ยปานกลาง ( =2.53) และปัจจัยภายนอกมีค่าเฉลี่ยน้อย ( =2.36)
3. กลยุทธ์ ประกอบด้วย 1 วิสัยทัศน์ 2 พันธกิจ 2 เป้าประสงค์ 2 ประเด็นกลยุทธ์ 10 กลยุทธ์ 32 ตัวชี้วัด และ 51 มาตรการ 4. การประเมินกลยุทธ์ มีค่าเฉลี่ยมากและมากที่สุด ( = ≥ 3.51)

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอ 1. คุณภาพชีวิตการทำงานของครู 2. สภาพปัญหาและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 3. กลยุทธ์ 4. ผลการประเมินกลยุทธ์ เป็นงานวิจัยประเภท การวิจัยและพัฒนา (R&D) ดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ 1. ศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานของครู โดยใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 302 คน 2. การศึกษาสภาพปัญหาและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง โดยใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 302 คน และการสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 13 คน 3. การสร้างกลยุทธ์ โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการ ใช้แบบบันทึกข้อมูล ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 13 คน และการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 11 คน
4. การประเมินกลยุทธ์ โดยใช้แบบประเมิน ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 21 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการ แจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ SWOT Analysis สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ร้อยละ ( ) และ (S.D.)

ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณภาพชีวิตการทำงานของครู มีค่าเฉลี่ยปานกลาง ( =2.65)
2. สภาพมีการดำเนินการเป็นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 54.78) ปัญหามีค่าเฉลี่ยปานกลาง ( =3.45) ปัจจัยภายในมีค่าเฉลี่ยปานกลาง ( =2.53) และปัจจัยภายนอกมีค่าเฉลี่ยน้อย ( =2.36)
3. กลยุทธ์ ประกอบด้วย 1 วิสัยทัศน์ 2 พันธกิจ 2 เป้าประสงค์ 2 ประเด็นกลยุทธ์ 10 กลยุทธ์ 32 ตัวชี้วัด และ 51 มาตรการ 4. การประเมินกลยุทธ์ มีค่าเฉลี่ยมากและมากที่สุด ( = ≥ 3.51)

References

ฐิติพรรณ ธารทรัพย์ทวี. (2560). คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการครูในกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตบ้านบึง 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 1 (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ณัฏฐา แตงก่ำ. (2560). คุณภาพชีวิตการทำงานของครูที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนบางละมุง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ยศพล เวณุโกเศศ. (2556). การศึกษารูปแบบการจัดค่าตอบแทน สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูลอื่นที่เหมาะสม สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติงานในพื้นที่พิเศษ : กรณีศึกษาภาคใต้ (รายงานการศึกษาพัฒนานักบริหารการศึกษาระดับสูง). กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

วาสนา วิลัยเกษ. (2558). คุณภาพชีวิตการทำงานของครูผู้สอนในศูนย์การเรียนสำหรับเด็กเจ็บป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาล (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิเชียร วิทยอุดม. (2553). ภาวะผู้นํา Leadership. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ์.

วีรยุทธ โลมพันธ์. (2560). คุณภาพชีวติการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของครูผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สาคร สุขศรีวงศ์. (2562). การจัดการ : จากมุมมองนักบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: จี.พี.ไซเบอร์พริ้นท์.

สาลินี ชาดา. (2556). การศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการครูโรงเรียนธนาคารออมสิน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

หยดฟ้า ราชมณี. (2554). การดำเนินการวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรียนระดับประถมศึกษาในภาคใต้ (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสถิติประยุกต์). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

หวิน จําปานิน. (2561). กลยุทธการพัฒนาสมรรถนะครูเชิงพุทธบูรณาการของขาราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 3 (ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Walton, R. E. (1973). Quality of Working life: What is it?. Sloan Management Review (pre-1986), 15(1), 11-21.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-23

How to Cite

รอดประเสริฐ ส., บุดสีทา เ., & บุญอนนท์ ร. (2023). กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของครูโรงเรียนในพื้นที่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 12(3), 69–82. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/256630