ถอดความรู้จากการฝึกอบรมศักยภาพเยาวชนในการออกแบบอนาคตชุมชนสร้างสรรค์ โรงเรียนชุมชนป้อมเพชร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ผู้แต่ง

  • พระมหาอัครวัฒน์ กิตฺติญาโณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พระปลัดระพิน พุทธิสาโร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พระใบฎีกาสมคิด นาถสีโล มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • สุภัทรชัย สีสะใบ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

ศักยภาพเยาวชน, อนาคตชุมชนสร้างสรรค์, โรงเรียนชุมชนป้อมเพชร

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดความรู้จากการฝึกอบรมศักยภาพเยาวชนในการออกแบบอนาคตชุมชนสร้างสรรค์ โรงเรียนชุมชนป้อมเพชร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ จากเอกสาร และงานวิจัย การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์ เขียนเป็นความเรียงในรูปแบบบทความวิชาการ

ผลการศึกษาพบว่า ในการฝึกอบรมใช้กระบวนการฝึกออบรมผ่านกิจกรรม (1) กิจกรรมชวนคิด ชวนคุย ชวนลงมือทำ (2) กิจกรรมกระจกสะท้อนใจ (3) กิจกรรมออกแบบชุมชนสร้างสรรค์  โดยกิจกรรมการฝึกอบรมเป็นเทคนิคการส่งเสริมให้เกิดกระบวนการคิด การใช้ฐานความคิดในกระบวนการกลุ่ม คิดอย่างสร้างสรรค์ และนำไปสู่การคิดเชิงระบบร่วมกัน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนนำความคิดเหล่านั้นไปสร้างกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน ให้เยาวชนได้แสดงความรับผิดชอบต่อชุมชนตามศักยภาพที่นักเรียนมี และกระตุ้นให้นักเรียนผู้เข้าอบรมสู่การลงมือกระทำตามที่คิดอย่างเป็นระบบ โดยมีครู และคณะนักวิจัยคอยให้คำแนะนำร่วม ในเบื้องต้น ผลได้ทำให้นักเรียนมีความกล้าคิด กล้าแสดงออก และเห็นความสำคัญของตัวเอง และส่งต่อความสามารถนั้นสู่ชุมชน สังคม และส่วนรวม และฝึกให้มีความสามัคคีในการทำงานร่วมกัน

References

จิณห์จุฑา ศุภมงคล และกมลาศ กูวชนาธิพงศ์. (2563). การพัฒนาพฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์สำหรับเยาวชน โดยใช้สื่อตามแนวพุทธจิตวิทยา.วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 6(1), 95-108.

จินตนา กสินันท์. (2560) สื่อสร้างสรรค์เพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกรักษ์น้ำของเยาวชน กรณีศึกษา: คนปลายน้ำคลองท่าแนะ จังหวัดพัทลุง. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 35(2), 9-32.

จินตนา อมรสงวนสิน และคณะ. (2559). การถ่ายทอดนวัตกรรมชุมชนในการจัดการน้ำเสียที่เหมาะสมกับภูมินิเวศสู่เยาวชน. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 11(2), 91-107.

ชัญญานุช สงวนศรี. (2563, 20 กรกฎาคม). นักเรียนโรงเรียนชุมชนป้อมเพชร ม.4/2. [บทสัมภาษณ์].

ชานนท์ โกมลมาลย์ และคณะ. (2562). การศึกษาและพัฒนาข้อเสนอเพื่อส่งเสริมให้ท้องถิ่นสนับสนุนสภาเด็กแลเยาวชนริเริ่มทำกิจกรรมสร้างสรรค์และแก้ไขปัญหาในชุมชนสังคมของตนเอง. วารสารพัฒนศาสตร์. 16(2), 62-101.

ชูพักตร์ สุทธิสา และคณะ. (2555). การเสริมสร้างศักยภาพเด็กและเยาวชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบท: กรณีศึกษาบ้านด้ามพร้า ตำบลขามใหญ่ อำเภอเมืองจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 8(1), 217-236.

ฐิติพร สิทธิโชคธรรม. (2563, 20 กรกฎาคม). รักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนป้อมเพชร. [บทสัมภาษณ์].

ตรัสสา ชุมพร. (2563, 20 กรกฎาคม). บุคลากรครูโรงเรียนชุมชนป้อมเพชร. [บทสัมภาษณ์].

ธนภรณ์ แสนอ้าย. (2560). การบูรณาการสอนวิชาการละครสำหรับเด็กและเยาวชนเพื่อพัฒนาวิชาการของเด็กและเยาวชนในชุมชน. วารสารศิลปกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 4(2), 1-10.

นันทิยา ดวงภุมเมศ และสิรินธร พิบูลภานุวัธน์. (2562). พื้นที่สร้างสรรค์” กลไกการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในการสร้างความเป็นพลเมืองให้เยาวชนไทย. วารสารศาสตร์. 12(2), 87-97

นัยนา หนูนิล และสายฝน เอกวรางกูร. (2554). กระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชน. วารสารการพยาบาล, 26(พิเศษ), 30-43.

ปวลักขิ์ สุรัสวดี. (2561). ปลา…ที่ไม่มีขาเดิน: กระบวนการศิลปะละครประยุกต์เพื่อการเสริมพลังของเยาวชนไร้สัญชาติเชื้อชาติพม่า ตำบลมหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา, 37(2), 76-96.

พระสุมิตร สุจิตฺโต และคณะ. (2561). กลไกการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยไตรสิกขา. วารสารสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 7(2), 57-67.

พวงชมพู ไชยอาลา และแสงรุ่งเรืองโรจน์. (2560). กระบวนการสร้างพื้นที่สร้างสรรค์เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนและผู้ใหญ่ผ่านภูมิปัญญาท้องถิ่น : กรณีศึกษาชุมชนหมู่บ้าน หนองนาสร้าง อำเภอเมืองจังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารวิถีสังคมมนุษย์ สาขานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 5(1), 166-190.

พันธกานต์ ตรีอรุณ. (2563, 20 กรกฎาคม). นักเรียนโรงเรียนชุมชนป้อมเพชร ม.4/3. [บทสัมภาษณ์].

ภัทรวรรณ ชีระศิลป์. (2563, 20 กรกฎาคม). นักเรียนโรงเรียนชุมชนป้อมเพชร ม.4/1. [บทสัมภาษณ์].

วิสูตร ชลนิธี. (2558). กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนบ้านสะพานสี่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 10(3), 303-316.

ศรีจันทร์ ศิริบันลือหาญ. (2563, 20 กรกฎาคม). บุคลากรครูโรงเรียนชุมชนป้อมเพชร. [บทสัมภาษณ์].

สรรพารี ยกย่อง และคณะ. (2559). การเสริมสร้างความรู้เรื่องความหลากหลายทางวัฒนธรรมในอำเภอพุทธ มณฑลสาหรับเด็กและเยาวชน กรุงเทพมหานคร. วารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา, 8(3) 50-64.

สายสุดา ปั้นตระกูล และคณะ. (2554). รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเกมออนไลน์ ที่มีผลต่อเยาวชนไทย : กรณีศึกษาชุมชนสีคาม. วารสารวิจัย มสด, 7(2), 77-89.

สุภาพรรณ เพิ่มพูล,อนุชา โสภาคย์วิจิตร์,ณฐภัทร อ่ำพันธุ์. (2563). การฝึกสมาธิแนวพุทธเชิงสร้างสรรค์ในชีวิตประจำวันสำหรับเยาวชนไทย. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. 16(1), 24-37.

สุมานพ ศิวารัตน์. (2560). การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยไตรสิกขา. วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ, 8(1), 36-48.

สุวรรณา คุณดิลกณัฐวสา. (2560). แนวทางการพัฒนาต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนในชุมชนเทศบาลนครนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์. วารสารสักทอง: ฉบับมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 27(2), 38-50.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-07

How to Cite

กิตฺติญาโณ พ. ., กิตติโสภโณ พ. ., พุทธิสาโร พ. ., นาถสีโล พ. ., & สีสะใบ ส. . (2022). ถอดความรู้จากการฝึกอบรมศักยภาพเยาวชนในการออกแบบอนาคตชุมชนสร้างสรรค์ โรงเรียนชุมชนป้อมเพชร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 11(6), A102-A117. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/253647