การเปรียบเทียบความพึงพอใจการจัดการความสัมพันธ์เกษตรกร ผู้ขายมันสำปะหลัง

ผู้แต่ง

  • รัฐพร โมกขมรรคกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
  • อนิรุธ พิพัฒน์ประภา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

คำสำคัญ:

การเปรียบเทียบ, ความพึงพอใจ, การจัดการความสัมพันธ์กับผู้ขายปัจจัยการผลิต

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจการจัดการความสัมพันธ์เกษตรกรผู้ขายมันสำปะหลังในเขตจังหวัดนครราชสีมา  โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลกับเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังจำนวน 251 คนวิเคราะห์ผลโดยค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์ความเป็นอิสระของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ด้วยวิธี T-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ANOVA หากพบความแตกต่างจะทำการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธี Last Significant Difference: LSD

          ผลการวิจัยพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา เขตพื้นที่ในการเพาะปลูกมันสำปะหลัง จำนวนพื้นที่ในการเพาะปลูกมันสำปะหลัง ผลผลิตต่อไร่ และช่วงเวลาในการเก็บเกี่ยวที่แตกต่างกันมีระดับความพึงพอใจการจัดการความสัมพันธ์กับผู้ขายปัจจัยการผลิต แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05

References

กิรณา แก้วสุ่น และไกรชิต สุตะเมือง. (2559). อิทธิพลของการจัดการความสัมพันธ์กับผู้จัดหาวัตถุดิบที่มีต่อผลการดำเนินการด้านการจัดซื้อจัดหาผักและผลไม้สดในร้านค้าปลีกสมัยใหม่ในประเทศไทย. RMUTT Global Business and Economics Review, 11(2), 11-22.

นพปฎล สุวรรณทรัพย์ และมณฑลี ศาสนนันทน์. (2557). การเพิ่มประสิทธิภาพทางการจัดซื้อด้วยการจัดการความสัมพันธ์กับผู้จำหน่ายกรณีศึกษา อุตสาหกรรมซ่อมบำรุงอากาศยานในประเทศไทย. วารสารวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 9(1), 1-15.

บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2553). ระเบียบวิธีการวิจัย: แนวทางปฏิบัติสู่ความสำเร็จ (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: ยู แอนด์ ไอ อินเตอร์มีเดีย จำกัด.

รัตนา ทองบ่อ. (2561). ความพึงพอใจของเกษตรกรชาวสวนยางที่มีต่อการดำเนินงานและการบริการของการยางแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น. วารสารการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ, 19(9), 1197-1208.

ศรายุทธ ตรัยศิลานันท์ และสุนิติยา เถื่อนนาดี. (2556). ความสัมพันธ์ห่วงโซ่อุปทานระหว่างผู้จัดหาวัตถุดิบกับผู้ซื้อในอุตสาหกรรมอาหารจังหวัดนครราชสีมา. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, 7(1), 69-68.

สิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านเพศอายุและการศึกษาของเกษตรกรต่อการดำเนินงานโครงการศูนย์ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าวชุมชนในจังหวัด

ศรีสะเกษ. แก่นเกษตร, 45(2), 341-350.

สำนักงานวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร. (2562). สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำคัญและแนวโน้มปี 2563. สืบค้น 6 ธันวาคม2562, จาก http://www.oae.go.th/assets/portals/1/ebookcategory/24rend2563-Final-Download.pdf

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2562). มันสำปะหลังโรงงาน: เนื้อที่เพาะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยวผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ปี 2562. สืบค้น 10 มกราคม 2562, จาก อ้างอิงได้จาก : http://www.oae.go.th/assets/portals/1/fileups/prcaidata/files/

อนุพงศ์ อวิรุทธา และเกวลี วัดพ่วงแก้ว. (2560). ทักษะการบริหารความสัมพันธ์และการพัฒนาความสัมพันธ์ของผู้ซื้อและผู้ส่งมอบที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานการบริหารความสัมพันธ์กรณีศึกษาบริษัทลาซาด้าจากัด (ประเทศไทย). Veridian E-Journal, Silpakorn University, 10(2), 1163-1179.

อเนก จันทร์เครือ. (2561). ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อโครงการแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง จังหวัดราชบุรี. วารสารรัฐศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 5(2), 35-55.

อิษฏ์ อินทรภูมิ. (2553). ความพึงพอใจของเกษตรกรชาวไร่อ้อยในจังหวัดขอนแก่นที่มีต่อการดำเนินงานและบริการของสมาคมชาวไร่อ้อยอีสานกลาง. (วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Humphreys, P. K., et al. (2004). The Impact of Supplier Development on Buyer-Supplier Performance. Omega the International Journal of Management Science, 32(2), 131 – 143.

Lambert, D. M., & Schwieterman, M. A. (2012). Supplier Relationship Management as a Macro Business Process.Supply Chain Management: An International Journal, 17, 337-352.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-20

How to Cite

โมกขมรรคกุล ร. ., & พิพัฒน์ประภา อ. (2021). การเปรียบเทียบความพึงพอใจการจัดการความสัมพันธ์เกษตรกร ผู้ขายมันสำปะหลัง. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 10(2), 78–89. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/249531