การศึกษานโยบายสาธารณะกับมุมมองเชิงวาทกรรม

ผู้แต่ง

  • มุกรวี ฉิมพะเนาว์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำสำคัญ:

การศึกษานโยบายสาธารณะ, วาทกรรม, นโยบายสาธารณะเชิงวาทกรรม

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการศึกษานโยบายสาธารณะ โดยเริ่มจากแนวทางการศึกษานโยบายสาธารณะแบบกระแสหลักที่ใช้ฐานแนวคิดตามหลักวิทยาศาสตร์และฟิสิกส์หรือเรียกว่า วิธีการศึกษาแบบปฏิฐานนิยม (positivism) ให้ความสำคัญและยึดถือข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่งแม้ว่าจะง่ายต่อการวัดผลประเมินผลความสำเร็จของนโยบาย แต่วิธีการศึกษาดังกล่าวได้แยกข้อเท็จจริงกับคุณค่าออกจากกันอย่างสิ้นเชิง จึงขาดความเข้าใจถึงบริบททางสังคมตามความเป็นจริงที่มีความสลับซับซ้อน ทำให้การกำหนดนโยบายสาธารณะไม่ตอบโจทย์หรือไม่สามารถแก้ปัญหาตามที่สังคมต้องการอย่างแท้จริง นักวิชาการได้นำวิธีการศึกษาแนววิพากษ์มาทำการวิพากษ์แนวทางการศึกษานโยบายสาธารณะกระแสหลัก เกิดเป็นแนวทางการศึกษานโยบายสาธารณะโดยยึดแนวคิดหลังปฏิฐานนิยม (postpositivism) ที่มีหลักเหตุผลที่กว้างและเน้นการมีส่วนร่วมตามหลักความเป็นประชาธิปไตยมากกว่า อาทิเช่น การวิเคราะห์นโยบายแบบถกแถลงและการโต้แย้ง รวมไปถึงการศึกษาสิ่งที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการที่ภาครัฐใช้ในการกำหนดนโยบายสาธารณะ ได้แก่ การศึกษานโยบายสาธารณะเชิงวาทกรรม ซึ่งเป็นวิธีการที่ภาครัฐต้องการให้เกิดความร่วมมือจากประชาชนในการปฏิบัติตามนโยบายที่รัฐกำหนดขึ้นผ่านวิถีปฏิบัติของวาทกรรม

References

ณัฏฐณิชา เลอฟิลิแบร์ต. (2557). ผลกระทบจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. ใน นพพล วิทย์วรพงศ์ (บรรณาธิการ), ทศวรรษศูนย์วิจัยปัญหาสุรา: สถานะความรู้เพื่อการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. (หน้า 95-127). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา.

ธนวัฒน์ พิมลจินดา. (2560). นโยบายสาธารณะ (Public Policy). ชลบุรี: วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธนวัตร มัททวีวงศ์. (2559). การวิเคราะห์วาทกรรมเชิงวิพากษ์ในรายการคืนความสุขให้คนในชาติ (วิทยานิพนธ์ปริญญาวารสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสื่อสารมวลชน). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2552). นโยบายศาสตร์เชิงวิพากษ์. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 49(1 พิเศษ), 41-66.

ศูนย์วิจัยเพื่อการพัฒนาสังคมและธุรกิจ. (2560). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการประเมินผลการรณรงค์ “งดเหล้าเข้าพรรษาปี 2560” : กรณีศึกษาประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปใน 12 จังหวัดทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยเพื่อการพัฒนาสังคมและธุรกิจ.

Bohman, J. (2004). Critical theory and democracy. in Rasmussen, David et al. Critical Theory, Volume III: Subjectivity, Ethics and Politics. London: Sage Publications.

deLeon, P., & Overman, E. S. (1998). A history of the policy sciences. In Rabin et al. Handbook of Public Administration (2nd ed.). New York: Marcel Dekker.

deLeon, P. (2006). The historical roots of the field. in Moran et al. The Oxford Handbook of Public Policy. Oxford: Oxford University Press.

Dye, R. T. (1984). Understanding Public Policy (5th ed.). Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.

Fischer, F. (1998). Beyond empiricism: Policy inquiry in postpositivist perspective. Policy Science Journal. 26(1), 129-146.

________. (1990). Politics, Values, and Public Policy: The Problem of Methodology. Colorado: Westview Press.

________. (2003). Reframing Public Policy. Oxford: Oxford University Press.

Fairclough, N. (1995). Critical discourse analysis. The critical study of language. London: Edward Arnold.

Foucault, M. (1972). The Archaeology of Knowledge; and, The Discourse on Language. Pennsylvania State University.

Hajer, et al. (2003). Deliberative Policy Analysis: Understanding Governance in the Network Society. Cambridge: Cambridge University Press.

Lasswell, H. (1988). Politics: Who Gets What, When, and How. New York: St. Martin’s Press.

Lasswell, H., & Kaplan, A. (1970). Power and Society. New Haven: Yale University Press.

Morrow, R. A., & Brown, D. D. (1994). Critical Theory and Methodology. California: Sage Publications.

Parker, I. (1992). Discourse dynamics: Critical analysis for social and individual psychology. London: Routledge.

Dijk, V. (1998). Principles of critical discourse analysis. Retrieved March 20, 2020, from http://www.discourses.org/OldArticles/Principles%20of%20critical%20discourse%20analysis.pdf

Wetherell, M. (2001). Debates in Discourse Research. In Discourse Theory and Practice: A Reader. London: Sage Publications.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-23

How to Cite

ฉิมพะเนาว์ ม. (2020). การศึกษานโยบายสาธารณะกับมุมมองเชิงวาทกรรม. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(4), 293–305. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/247333