พุทธธรรมาภิบาล: กลไกการปกครองเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคตะวันตก

ผู้แต่ง

  • พระสมุทรวชิรโสภณ (โสภณ ธมฺมโสภโณ) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

พุทธธรรมาภิบาล, กลไกการปกครอง, การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน วิเคราะห์รูปแบบและนำเสนอตัวแบบพุทธธรรมาภิบาล: กลไกการปกครองเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคตะวันตก เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี การวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม จากกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคตะวันตกของประเทศไทย 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 10 คนและผู้เข้าร่วมการสนทนากลุ่มเฉพาะ 8 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง และวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการปกครองโดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 2. รูปแบบการปกครองโดยยึดพระธรรมวินัยเป็นธรรมนูญสูงสุดและยึดพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ไม่มีการกำหนดโทษโดยปราศจากพระธรรมวินัยและกฎหมายรองรับ 3. ตัวแบบพุทธธรรมาภิบาลพบว่า มีคุณธรรมเป็นองค์ประกอบสำคัญอยู่ในเนื้อของหลักการทั้งหมด และทำหน้าที่เป็นตัวประสานทุก ๆ หลักการเข้าไว้ด้วยกัน

References

ธนยศ ชวะนิตย์. (2561). รูปแบบกระบวนทัศน์รัฐประศาสนศาสตร์เชิงวัฒนธรรม. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7(1), 1 – 17.

นครินทร์ แก้วโชติรุ่ง. (2556). รูปแบบและหลักการของการปกครองในพระไตรปิฎก (สารนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

บุษกร วัฒนบุตร. (2561). การสร้างตัวแบบการพัฒนาจริยธรรมเพื่อการพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ในศตวรรษที่ 21. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7(1), 273-281.

บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ และบุญมี ลี้. (2546). ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล (Indicators of Good Governance). กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.

พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ (ประไพ ปุญฺญกาโม). (2562). การบริหารอำนาจตามแนวพุทธในระบบการปกครองแบบธรรมรัฐ. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 8(4), 34-48.

พระครูสังฆรักษ์เกียรติศักดิ์ กิตฺติปญฺโญ. (2561). กลยุทธ์การบริหารองค์กรสงฆ์ที่เข้มแข็งในยุคโลกาภิวัตน์. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7(1), 99-115.

พระครูสังฆรักษ์ทรงพรรณ ชยทตฺโต. (2554). การประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลในการปกครองคณะสงฆ์ของพระธรรมปริยัติเวที (สุเทพ ผุสฺสธมฺโม) (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระจรุณ ธีรปญฺโญ. (2554). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลลำพยนต์ อำเภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาชินวัฒน์ ธมฺมเสฏฺโฐ. (2548). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองสามพราน อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาสมพงษ์ ชนุตฺตโม. (2556). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาเสาร์คำ ธมฺมธีโรและคณะ. (2563). หลักธรรมาภิบาลในกระบวนการยุติธรรมของคณะสงฆ์ในจังหวัดชลบุรี. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(1), 135-147.

พระมหาอำนาจ อจฺฉริยเมธีและคณะ. (2563). การพัฒนาการเสริมสร้างความปรองดองเพื่อสังคมสันติสุขโดยพระสังฆาธิการจังหวัดปทุมธานี. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(1), 98-109.

พระราชญาณวิสิฐ (เสริมชัย ชยมงฺคโล). (2548). หลักธรรมาภิบาลและประมุขศิลป์. กรุงเทพฯ: ชัยมงคล พริ้นติ้ง.

พระสุธีวีรบัณฑิต (โชว์ ทสฺสนีโย) และคณะ. (2562). รัฐประศาสนศาสตร์เปลี่ยนโลก. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 8(2), 300-314.

ยุทธนา ประณีตและคณะ. (2563). อำนาจอธิปไตยกับแนวคิดว่าด้วยเจ้าของอำนาจและการแสดงออกของประชาชน. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(2), 304-314.

สถาบันพระปกเกล้า. (2550). วัดระดับการบริหารจัดการที่ดี (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี: บริษัท พิมพ์ดี จำกัด.

สยามพร พันธไชย. (2562). รูปแบบการจัดการความรู้ตามหลักพุทธธรรมเพื่อการพัฒนาบุคลากร ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 8(2), 69-82.

สันติ เมืองแสง. (2562). ศึกษาบทบาทของพระสังฆาธิการในการเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง: ศึกษาเฉพาะกรณีพระสังฆาธิการในเขตการปกครองคณะสงฆ์ภาค 2. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 8(2), 83-92.

สุนันทา กริชไกรวรรณ. (2561). บูรณาการพุทธธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7(1), 55-69.

สุบัณฑิต จันทร์สว่าง. (2562). การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมเพื่อการส่งเสริมความสมานฉันท์ในการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดนครสวรรค์. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 8(2), 57-68.

อภิชาติ พานสุวรรณ. (2561). ผู้นำกับการสร้างความเปลี่ยนแปลง. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7(1), 282-294.

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3rd ed). New York: Harper and Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-22

How to Cite

(โสภณ ธมฺมโสภโณ) พ. (2020). พุทธธรรมาภิบาล: กลไกการปกครองเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคตะวันตก. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(4), 102–113. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/246618