หลักพุทธธรรมกับการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

ผู้แต่ง

  • อัจฉรา หล่อตระกูล มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

หลักพุทธธรรม การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การบริหารราชการ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่สอดคล้องกับเป้าหมายของการบริหารราชการ ตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีจึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจ เพื่อนำมาปรับประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร หลักพุทธธรรมสำคัญที่สอดคล้องกับ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทั้ง 7 มิติ คือ 1) เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ 4) ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น 5) มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ 6) ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองต่อความต้องการ และ 7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ เป็นหลักธรรมในการปกครอง  2  ประการ  คือ  หลักธรรมในการปกครองตน  และหลักธรรมในการปกครองคน  หลักธรรมในการปกครองตน  หมายถึง  หลักธรรมที่ผู้ปกครองจะต้องปฏิบัติเพื่อปกครองดูแลตนเองให้ตั้งอยู่ในธรรมอันดีงาม  หากเป็นการปกครองโดยกษัตริย์จะใช้หลัก “ทศพิธราชธรรม”  แต่ถ้าเป็นการปกครองโดยคณะบุคคล  ก็ใช้หลัก “อปริหานิยธรรม” เพื่อให้ผู้ปกครองเหล่านั้นนำไปปกครองตน  และเพื่อหลอมรวมคณะผู้ปกครองทุกคนให้เป็นหนึ่งเดียวกัน หลักธรรมในการปกครองคน  หมายถึง  หลักธรรมที่ผู้ปกครองจะต้องนำไปใช้ในการปกครองคน  คือ  หลักธรรมที่ใช้  คือ  สังคหวัตถุ  4  อคติ  4  เป็นต้น  หลักธรรมเหล่านี้  สามารถนำไปใช้ในการปกครองได้ทั้งระบบกษัตริย์และระบอบที่ปกครองโดยคณะบุคคล

References

Department of Academic Affairs, Ministry of Education. (1998). A Guide to Creating Values, Morals, Ethics and Discipline. Bangkok: Printing House Teachers Council Lardprao.
Mahachulalongkornrajavidyalaya University. (1996). The Thai version of the Tipitaka Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Bangkok: Mahachulalongkorn
rajavidyalaya Publishing House.
Office of the Royal Society. Dictionary of the Royal Institute 1999. Bangkok : nanmebook Co.Ltd.
Phra Brahmagunabhorn (P.A. Payutto) (2009). Buddhism. Revised and expanded edition, 15th edition. Bangkok : Sahathamik Co.Ltd. Publishing House.
Phra Dharmapidhok (P.A. Payutto). (2005). Dictionary of Buddhism. 13th edition. Bangkok : R S printing mass product Co.,Ltd. Publishing House.
Phra Phutthasok Thera. (2003). The Holy Scriptures, Translated by Phra Phutthachan (Arj Arsapamahathera). 4th edition. Bangkok : Prayoonwong Printing Co.,Ltd.
Phra Prom Khunaporn (P.A. Payutto). (2010). Dictionary of Buddhist Science : Code of Glossary. Bangkok : Mahachulalongkornrajavidyalaya Publishing House.
Pichet Tangtoo Dr., Documentary lecture in Good governance in Buddhist local administration.
Sumeth Tantivejkul. (2000). Under the jubilee. Bangkok : Matichon.
Sunya Sunyawiwat. (2000). Sociology of politics. Bangkok : Sukaparpjai Publishing.
Somdej Maha Viravong. (2003). Dhama youth creation, quote in Juthatip Kaewmanee, A Construction of Instructional Pakages on Buddhism Sunkahawattu 4 Using group activities for Matthayomsuksa II Novice Monk. (Thesis of Master degree of Education). Graduate School: Burapha University.

เผยแพร่แล้ว

2020-08-02

How to Cite

หล่อตระกูล อ. . . (2020). หลักพุทธธรรมกับการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(3), 237–251. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245666