การวิเคราะห์องค์ประกอบการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุอย่างมีคุณภาพของ บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • ภักดี โพธิ์สิงห์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์องค์ประกอบ, การเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุอย่างมีคณภาพ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสค์เพื่อศึกษาระดับการเตรียมพร้อมก่อนการเกษียณอายุงานอย่างมีคุณภาพของบุคลากรมหาวิทยลัยราชภัฏมหาสารคาม และเพื่อศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบตัวบ่ง การเตรียมพร้อมก่อนการเกษียณอายุงานอย่างมีคุณภาพของคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่งที่ใช้ในการวิจัยนี้ ได้แก่ บุคลากร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามทั้งสายวิชการและสายสนับสนุนวิชการ ซึ่งเป็นตัวแทนที่ได้จกการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างทำการสุ่มแบแบ่งชั้นภูมิ ได้แก่ หน่วยงนระดับคณะ และประเทของบุคลากร แบ่งเป็นสายวิชาการและบุคลากรสายสนับสนุน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน ๔๕๐ คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณคำ (Rating Scale) ๕ ระดับมีค่ความเชื่อมั่นเท่ากับ .geleผลการวิจัย๑. ระดับการเตรีมความพร้อมก่อนเกษียณอายุภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย =๓.๘๕) จำแนกเป็นรายด้านพบอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ๑) การเตรียมพร้อมต้านจิตใจ (ค่าเฉลี่ย =๓.๙๙) ๒) การตรียมพร้อมต้านที่อยู่ (ค่เฉลี่ย =๓.๘๕) ๓) การเตรียมพร้อมต้านเศรษฐกิจ (ค่าเฉลี่ย=m.c๒) ๔) การเตรียมพร้อมด้านรำงกาย (ค่เฉลี่ย =๓.๘๒) ๕) การเตรียมพร้อมด้านการใช้เวลา(ค่าเฉลี่ย =๓.๓๕)๑.๑ การเตรียมพร้อมก่อนเกษียณอายุกลุ่มเพศชาย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย =๓.๘๗) จำแนกรายด้านเป็น ) การเตรียมพร้อมต้านร่างกาย (คำเฉลี่ย = ๓.๘๒) ๒) การเตรียมพร้อมตันจิตใจ (ค่เฉลี่ย = ๔.๐๒) ๓) การเตรียมพร้อมด้านเศรษฐกิจ (ค่าเฉลี่ย = ๓.๘๔) ๔)การเตรียมพร้อมด้านการใช้วลา (ค่เฉลี่ย = ๓๘๓) ๕) การเตรียมพร้อมด้านที่อยู่ (ค่ำเฉลี่ย =๓.๘๓)๑.๒ สรุปการเตรียมพร้อมก่อนกษียณอายุกลุ่มพศหญิง ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย= ๓.๘๓) จำแนกรายด้านเป็น ) การเตรียมพร้อมด้านร่างกาย (ค่เฉลี่ย =๓๘๒) ๒) การเตรียมพร้อมด้านจิตใจ (คำเฉลี่ย = ๓๙๘) ๗) การเตรียมพร้อมด้านเศรษฐกิจ (คำเฉลี่ย =๓.๘๐)๔) การเตรียมพร้อมด้านการใช้เวลา (ค่เฉลี่ย =๓๗๐) ๕) การเตรียมพร้อมด้านที่อยู่ (ค่าเฉลี่ย =๓.๘๖)๒. สรุปองค์ประกอบการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุ มี ๓๕ ตัวบ่งชี้ ดำน้ำหนักองค์ประกอบ อยู่ระหว่าง .๕ ถึง ๘๒๓ ร้อยละความสะสม ๖mm๒ และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ จำนวน ๕ องค์ประกอบสำคัญ ได้แก่ ๑) องค์ประกอบการเตรียมพร้อมด้านการใช้เวลา๒) องค์ประกอบ การเตรียมพร้อมด้านเศรษฐกิจ ๓) องค์ประกอบการเตรียมพร้อมต้านร่างกาย๔) องค์ประกอบการเตรียมพร้อมด้านจิตใจ และ ๕) องค์ประกอบการเตรียมพร้อมด้านที่อยู่ตามลำดับ๓. องค์ประกอบเชิงยืนยันการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุ มี ๕ องค์ประกอบ ๓๕ตัวบ่งชี้ โดยมีคำน้ำหนักองค์ประกอบ (B ของตัวแปรสังเกตได้ทั้ง ๓๕ ตัวบ่งชี้ อยู่ระหว่าง ๔๕ ถึง .๗๖ และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0๕ การตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุ ปรากฏว่า คำไดสแควร์ ( X ) เท่กับ ๓๙๐.๗๘ หี่องศาอิสระ(d) เท่กับ ๓๖b มีดความน่จะเป็น (p-value) เท่กับ 0.๑๗๘ คำดัชนี้วัดระดับความกลมกลืน(GF) คำดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGF) และค่ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนเปรียบเทียบ (CF) เท่กับ .๙๕, o.๙ด, และ ด.๐๐ ตามลำดับ คำรากของค่าเฉลี่ยกำลังสองของเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน (SRMR) เท่กับ ๑.๐๒๘ และ คำรากของคำเฉลี่ยกำลังสองของความคาดเคลื่อนโดยประมาณ (RMSEA) เท่กับ ๑.๐ดต แสดงว่า โมเดลการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุที่สร้งขึ้นสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดี

References

กระทรวงอุตสาหกรรม. รายงานภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมรายไตรมาส ๒ ปี ๒๕๕๖ (เมษายน
-มิถุนายน ๒๕๕b. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวง
อุตสาหกรรม, ๒๕f๖.
ปราณี จาติเกตุ. กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล. พิมพ์ครั้งที่ ๒.กรุงเทพมหานคร :
มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๕.
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ. นโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาลด้านผู้สูงอายุ
ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔. กรุงเทพมหานคร : สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอาย, ๒๕ ๕๕.
ทรงพล ขันรพัท. "การศึกษาสภาพ และปัญหาการดำเนินงานสวัสติการสังคมแก่ผู้สูงอายุ
ของ องค์การบริหารส่วนตำบลทำหลวง อำเภอท่เรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ".
วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ ๓ บับ มกราคม-เมษายน ๒๕๕๗.
สุขสันต์ คุกลาง. "การมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุต่อการพัฒนาชุมชนขององค์การบริหารส่วนตำบล
เกาะเรียนอำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา". วารสาร มจร
สังคมศาสตร์ปริกรศน์. ปีที่ ๓ ฉบับ ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๕๗.
(๓) วิทยานิพนธ์/รายงานการวิจัย:
เบญจมา เลาหพูนรังสี. "ความสัมพันธ์ของการเตรียมตัวก่อนเกษียณอายุราชการกับการปรับตัว
ภายหลังเกษียณอายุรชการของข้าราชการพลเรือน จังหวัดนครราชสีมา ".
วิทยานิพนธ์ ว.ม. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล, 6๕๓๔.
วิภา บำเรอจิตร. "อัตราการตอบกลับขั้นต่ำของแบบสอบถามทางไปรษณีย์ซึ่งตอบด้วยความ
จริงใจที่ทำให้ตัวประมาณค่ไม่ลำเอียง". วิทยนิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพมหานคร :
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๒.
Best. John W. Research in Skills for Executive Action. New York. American
Management Association, 1977.
Havighurst, R. J. and B. L. Neugarten. Society and Education. Boston : Allyn and
Becon, Inc, 1969.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-12-20

How to Cite

โพธิ์สิงห์ ภ. (2016). การวิเคราะห์องค์ประกอบการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุอย่างมีคุณภาพของ บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม . วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5(3), 93–106. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245513