ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย : กับบทบาทการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
บทคัดย่อ
มหาวิทยาลัยสงฆ์ เป็นสถาบันการศึกษา มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามแนวพุทธ รวมทั้งส่งเสริมการสร้างความสามารถและส่งเสริมวัฒนธรรมอย่างเป็นระบบผ่านการจัดการศึกษา การวิจัย พร้อมเครือข่ายในส่วนมหาวิทยาลัยและภาคีสมาชิก เพื่อให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติ ยุทธศาสตร์ นโยบายด้านวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย และมุ่งขับเคลื่อนสู่สาธารณะส่วนรวมเป็นการอนุรักษ์ ส่งเสริม ทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม
References
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ , ราชกิจจานุเบกษา,
๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐, เล่ม ๑๒๔ ตอน ๔๗ ก. หน้า ๑๘-๑๙.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒. (๒๕๔๒,๑๙ สิงหาคม). ราชกิจจา
นุเบกษา. เล่ม ๑๑๖ (ตอนที่ ๗๔ก), หน้า ๑-๒๓.
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๔๐. (๒๕๔๐, ๑
ตุลาคม).ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๑๔ (ตอนที่ ๕๑ ก), หน้า ๒๔-๔๓.
พระมหาสุทัศน์ ติสสรวาที และคณะ. บรรณาธิการ, คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), ธรรมเพื่อชีวิตและการพัฒนาวัฒนธรรม, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์อมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด, ๒๕๓๒.
พระอธิการช่วง ฐิตโสภโณ (ตั้งอยู่),ศึกษาคติทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในประเพณีสารทเดือนสิบ (แซนโฎนตา) ของจังหวัดสุรินทร์,วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔.
พระพรหมคณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต), พจนานกรมพุทธศาสตร : ฉบับ ประมวลธรรม,กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), ธรรมเพื่อชีวิตและการพัฒนาวัฒนธรรม,กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ จำกัด. ๒๕๓๒.
วิทย์ พิณคันเงิน, สืบสานวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพ ฯ : เมธีทิปส์, ๒๕๕๖.
ข.บทความ/วารสาร
พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น)ดร., และคณะ,“การจัดการความรู้ทางวัฒนธรรมในประเพณี"ตากธรรม" ของวัดสูงเม่น จังหวัดแพร่”, รายงานการวิจัย , กรุงเทพ ฯ : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม,กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๔๙.
พระมหาบุญเลิศ อินฺทปญฺโญ,รศ., รูปแบบการสร้างสันติสุขในชุมชนโดยใช้กลไกของนวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น : ศึกษากรณีภูมิปัญญาประเพณีเลี้ยงผีขุนน้ำ จังหวัดลำพูน”,ในการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ ๑, เล่ม ๑ : พุทธบูรณาการเพื่อการพัฒนาจิตใจและปัญญา,กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาปรีดา ขนฺติโสภโณ,ดร., “ประเพณีสารทบุญเดือนสิบ”, ในสารนิพนธ์พุทธ ศาสตรบัณฑิต ๒๕๕๖, พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๖.
พระสุขี ชาครธมฺโม (ศรีมาตย์), “ศึกษาวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของพระประเพณีฮีตสิบสอง : ศึกษากรณีตำบลเมืองเก่าอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น”, ใน รวมบทความวิชาการโครงการสัมมนาวิชาการผลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ดีเด่นบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย อาทิตย์ ที่ 26 กันยายน 2553,กรุงเทพมหานคร: หอไตรการพิมพ์, ๒๕๕๓), หน้า ๓๒๓-๓๒๘.
พระบุญช่วย โชติวํโส (อุ้ยวงค์), “ศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในความเชื่อและพิธีกรรมการบายศรีสู่ขวัญของชาววานรนิวาส”, ในรวมบทความวิชาการ โครงการสัมมนาวิชาการผลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ดีเด่นบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อาทิตย์ ที่ 26 กันยายน 2553, (กรุงเทพมหานคร: หอไตรการพิมพ์,๒๕๕๓), หน้า ๒๗๗-๒๘๔.
ค.ออนไลน์
ผศ.บัญชา จำปารักษ์ (2557) ,''การศึกษาบุญมหาชาติ(ผะเหวด) กับการเสริมสร้างจริยธรรมทางสังคม'' ออนไลน์http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article
ง.ภาษาอังกฤษ
Branine, Mohamed. Managing across cultures : concepts, policies and practices. London : SAGE. 2011.
Farrell, Theo. The norms of war : Cultural beliefs and modern conflict. Boulder : Lynne Rienner, 2005.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2018 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น