พุทธบูรณาการ เพื่อการพัฒนาจิตใจและสังคม

ผู้แต่ง

  • พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

บทคัดย่อ

"จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อพัฒนาจิตใจและสังคม" เป็นเจตนารมณ์ของมหาวิทยาลัย  และภาระงานของการจัดการศึกษาของคณะสงฆ์ ที่จะเข้าไปส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดผลในทางปฏิบัติต่อสังคมส่วนรวม จนได้ชื่อว่าเป็นการพัฒนาสังคมโดยพระพุทธศาสนา ซึ่งจะส่งผลเป็นการสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ และแสดงออกต่อการดำเนินชีวิตตามกรอบพระพุทธศาสนาอย่างเข้มแข็ง มั่นคง จนเป็นสันติสุข เสรีภาพในการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ในสังคมนี้ 

References

พระพรหมบัณฑิต (ประย รมมจิตโต)ปัญญาต้องคู่กับกรุณาจึงจะพาชาติรอด.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุหลงกรณราชวิทยาลัย. ๒๕๕๗.
ภัทรพร สริกญจนการศึกษาแนวคิดทางจริศสตร์ในงานเขียนของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) = A study of ethical thought in the work of Phramagunabhorn. กรุงเทพมหานคร : บริษัทมิสตอร์ก้อปบี้ จำกัด
มาร์ติน, โรเจอร์ แอล. คิแบบบูรณาการ : เพิ่มพลังกระบวนการคิดตามแบบวิถีของผู้นำที่ประสบความสำเร็, ผู้แปล ปวีณ แปลงประวัติ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด, ๒๕๕๓.
ประเวศ วะสี วิถีบูรณาการ ทางออกทางภูมิปัญญา. กรุงเทพมหานคร : เนชั่นสุดสัปดาห์; ๒๕๔๒,
เทียนชัย วงศ์ชัยสุวรรณ. ภูมิปัญญบูรณาการ. กรุงทพฯ : มูลนิธิวิถีทรรศน์, ๒๕๔๒.
เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล บรรณาธิการ. สังคมศาสตร์บูรณาการ = Integrated social science.นครปฐม : คณะสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๕๖.
Dr. Daisetz Teitaro Suzuki. Buddhism and culture. Kyoto : Nakano Press. 1960.
Glogowski, Dieter. Buddhism : eight steps to happiness. Munich : Bucher.c2008.
Donald W. Mitchell. Buddhism : introducing the Buddhist experience.New York : Oxford University Press, 2008.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2013-12-23

How to Cite

(ประยูร ธมฺมจิตฺโต) พ. (2013). พุทธบูรณาการ เพื่อการพัฒนาจิตใจและสังคม. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 3(3), 1–24. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245374