การพัฒนาการบริหารจัดการการสาธารณูปการของพระสังฆาธิการ ในเขตการปกครองคณะสงฆ์ภาค ๑๑
คำสำคัญ:
การพฒนาการบริหารจัดการ , การสาธารณู ปการ, พระสังฆาธิการในเขตการปกครอง คณะสงฆ์ภาค ๑๑บทคัดย่อ
บทความวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและอุปสรรคการบริหารจัดการสาธารณูปกา ๒) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีและการบูรณาการหลักพุทธธรรมที่เหมาะสมกับการบริหารจัดการสาธารณปก ๓) เพื่อเสนอการพัฒนาการบริหารจัดการการสาธารณูปการของพระสังฆาธิการในเขตการปกครองคณะสงฆ์ภาค ๑ค วิธีดำเนินการวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ การวิจัยชิคุณภาพ ผู้วิจัยได้ศึกษาจากอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน ๘ รูป และการสนทนากลุ่มเฉพาะ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน ด๓ รูป/คนโดยวิเคราะห์ข้อลแบบอรรถาธิบายและพรรณนาความ ส่วนการวิจัยชิงปริมาณ ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน ๒๘ ชุด วิคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อการวิจัย โดยใช้สถิติพรณนา ได้แก่ ค่ความถี่ คำร้อยละ คำเฉลี่ย และคำเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า๑. สภพปัญหาและอุปสรรคการบริหารจัดการสาธารณูปการ (๑) พระสังฆาธิการอาจจะกำกับดูแลบุคลากรด้นการสาธรณูปการไม่ต่อเนื่องเพราะปัญหาสุขภาพไม่อำนวยหรือไม่มีผู้ทำการแท่น การติดต่ประสานงานไม่มีทีมงานที่เหมาะสม (๒) การเงินงบประมาณ พระสังฆาธิการขาดสภาพคล่องด้านการเงินงประมาณในการก่อสร้างและการบูรณปฏิสังขรณ์อย่างต่อเนื่องขาดให้การอุปถัมวัต และขาดความร่วมมือของชุมชนในท้องถิ่นเป็นตัน (๗) วัสดุอุปกรณ์สิ่งปลูกสร้างและกาบูรณปฏิสัชณ์ในแต่ละวัดยังมีสภาพทรุดโทรม ไม่พร้อม ไม่เหมาะสม ไม่เป็นที่สัปปายะ ไม่สะอาด ไม่เป็นระเบียบ (๔) การจัดการ พระสัฆาธิการอาจจะขาดความรู้ความเข้าใจด้านการสาธารณูปการ ขาดการวางแผน ขาดการจัดทีงานทั้งพระสงฆ์และฆราวาส บาดผู้ให้การสนับสนุนวิธีการจัดการที่เหมาะสมกับการก่อสร้างและการบูรณปฏิสังขรณ์๒. แนวคิดทฤษฎีและการบูรณาการหลักพุทธธรรมที่เหมาะสมกับการพัฒนาการบริหารจัดการการสาธารณูปการ แนวคิดที่เกี่ยวกับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการก่อสร้างและการบูรณปฏิสังขรณ์ ส่วนทฤษฎีที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการ เช่น การวางแผน การจัดองค์การการบังคับบัญชาสั่งการ การประสานงาน และการควบคุมเป็นต้น การสาธารณูปการตามหลักอริยสัจ ๔ เป็นแนวทางสำคัญอย่างยิ่งในยุคปัจจุบัน ทุกข์ คือปัญหาการก่อสร้างและการบูรณปฏิสัขรณ์ไม่หมาะสม สมุทัย คือต้นเหตุให้เกิดการก่อสร้างและการบูรณปฏิสังขรณ์ นิโรธ คือเป้าหมายการก่อสร้างแลการบูรณปฏิสัขรณ์ และมรรค คือแนวทางข้อปฏิบัติการสาธารณูปการ๓. การพัฒนาการบริหารจัดการการสาธารณูปการของพระสังฆาธิการในเขตการปกครองคณะสงฆ์ภาค ๑๑ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแต่ละด้านพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน กล่าวคือ (๑) ด้านการวางแผน(๒) ด้านการจัดองค์กร (๓) ด้านการบังคับบัญชาสั่งการ (๔) ด้านการประสานงาน (๕) ด้านการควบคุม ตามหลักอริยสั ๔ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแต่ละด้านพบว่า กลุ่มตัวย่างมีความคิดเห็นโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน กล่าวคือ (๑) ด้านทุกข์ (๒) ด้านสมุทัย (๓) ด้านนิโรธ (๔) ด้านมรรค
References
พระธรรมปริย์ติโสภณ (วรวิทย์ คงคปญโญ). การคณะสงฆ์และการศาสนา. กรุงเทพมหานคระ
โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑.
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชติ. ดู่มือพระสังฆาธิการ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สำนักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ, ๒๕๕๔.
(๒) วารสาระ
อนุวัต กระสังข์, "การจัดการสิ่งแวดล้อมของวัดตามหลักนิเวศวิทยาเชิงพุทธบูรณาการของคณะ
สงฆ์จังหวัดสระบุรี", วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒
(พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๕๘)
(๓) วิทยานิพนธ์/รายงานการวิจัย:
กนกวรรณ โกมลิทริพงศ์. "การบริหารกิการของคณะสงฆ์จีนนิกายในประเทศไทย". วิทยานิพนธ์
พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา.บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕O.
พระครูวิสุทธนันทคุณ (สุรศักดิ์ วิสุทธจโร). "การบริหารจัดการวัดเพื่อความมั่นคงแห่ง
พระพุทธศาสนา". วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิง
พุทธ. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๘.
พระครูวศินวรกิ (วิชาญ ชาตวีโร). "การจัดการการสาธารณูปการของพระสังฆาธิการ
กรุงเทพหานคร". วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรตุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ
เชิงพุทธ. บัณฑิตวิทยลัย: มหาวิทยลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.
พระมหาศรณชัย มหาปุณโญ. "กาพัฒนาการบริหารกิจการคณะสฆ์ของพระสังฆาธิการในยุคโลกา
ภิวัตน์". วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. บัณฑิต
วิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖.
(I) Books:
Certo. Samuel C.and Peter. J. Paul. Strategic Management: Concept and
Applications. New York: McGraw-Hill, 1991.
Fled M.P. man. Psychology in the Industrial Environment. London: Butterworth
and Co.. Ltd., 1971.
Mary L. Good. Integrating the Individual and the Organization. New York: Wiley,
2006.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2016 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น