ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนนทบุรี
คำสำคัญ:
ประสิทธิภาพ, กิจการคณะสงฆ), พระสังฆาธิการบทคัดย่อ
การวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนนทบุรี และ ๒) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการ บริหารกิจการคณะสฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนนทบุรี ศึกษาวิจัยโดยใช้การวิจัยเชิงสำรวจ
(Survey Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ พระสังฆาธิการในจังหวัดนนทบุรี ได้แก่ เจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาสซึ่งเป็นผู้บริหารกิจการคณะสฆ์ในจังหวัดนนทบุรี ซึ่งได้ขนาดกลุ่ม ตัวอย่าง จำนวน ๘๐ รูป โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratifed Sampling) เครื่องมือที่ ใช้เป็นแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการและมาตราส่วนประเมินดำ ๕ ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่ความถี่ (Frequen) ค่ร้อยละ (Percentage) ค่เฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation) และวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยการทดสอบไคสแควร์ (Chi - Square Test) และการหา ค่สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson's product moment Correlation Coefficient) โดยการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยตั้งคำนัยสำคัญไว้ที่ระดับ ๐.๐๕
ผลการวิจัยพบว่า
พระสังฆาธิกรมีทักษะการบริหารกิจการคณะสงฆ์ในจังหวัดนนทบุรี โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดยมีคำเฉลี่ยเท่กับ ๔.๑๙ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า พระสังฆาธิการมีทักษะ การบริหารกิการคณะสงฆ์ในจังหวัดนนทบุรี อยู่ในระดับมากทุกด้าน พระสังฆาธิการในจังหวัดนนทบุรีมีระดับภาวะผู้น้ำ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดย มีค่เฉลี่ยเท่กับ ๓.๖๔ และเมื่อพิจรณาเป็นรายค้น พบว่า พระสังฆาธิการในจังหวัดนนทบุรีมี ระดับภาวะผู้นำ อยู่ในระดับมากทุกด้าน พระสังฆาธิการในจัหวัดนนทบุรี มีประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ โดย ภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดยมีคำเฉลี่ยเท่กับ ๔.6๕ และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า พระ สังฆาธิการในจังหวัดนนทบุรี มีประสิทธิภาพการบริหารกิการคณะสงฆ์ อยู่ในระดับมากทุกด้าน ผลการทดสอบปัจจัยส่วนบุคคลคือ ตำแหน่ง อายุ พรรษา วุฒิการศึกษา ของพระ สังฆาธิการในจังหวัดนนทบุรี พบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของ พะสังฆาธิการในจังหวัดนนทบุรีทุกตัวแปร จึงปฏิเสธสมมติฐานการวิจัย ปัจจัยด้านทักษะการบริหารกิการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนนทบุรีและ ภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการในจังหวัดนนทบุรี พบว่ ทักษะการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนนทบุรี มีความสัมพันธ์ชิงบวกกับประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ใน จังหวัดนนทบุรี ในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐ด โดยพบว่า ทักษะการบริหารกิจการ คณะสฆ์ของพระสังฆาธิการมีความสัมพันธ์ชิงบวกในระดับต่ำ (ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ๑.๒๓๙) ในขณะที่ภาวะผู้นำของพระสัฆาธิการในจังหวัดนนทบุรี ไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการ บริหารกิจการคณะสงฆ์ในจังหวัดนนทบุรี
References
(๑) หนังสือ
กรมการศาสนา. คู่มือพระสังฆาธิการว่าด้วยพระราชบัญญัติ กฎ ระเบียบ และคำสั่งของคณะสงฆ์.กรุงเทพมหานคร : กองแผ่นงาน, ๒๕๔๓.
หลักการบริหารและการจัดการวัดในยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพมหานคร : เอ พี กราฟิคดีไซน์, ๒๕๓๙.
กิติ ตยัดคานนท์ เทคนิคการสร้างภาวะผู้นำ. กรุงเทพมหานคร : เปลวอักษร, ๒๕๔๓.
พระเทพปริยัติสุธี (วรวิทย์ คงคปญโญ) การคณะสงฆ์และการพระศาสนา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๕.
พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร รมมจิตโต). การปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพมหานคร :สหธรรมิก, ๒๕ต๙.
พระวิสุทธิภัทรดา (ประสิทธิ์ พรหมรัสี). พระราชบัญญัติคณะสงฆ์และกฎมหาเถรสมาคม.กรุงเทพหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๗.
สำนักงานพระพุทรศสนาแห่งชาติ. กฎมหาเถรสมาคม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, ๒๔๔๕.
(๒) วิทยานิพนธ์
ฉันทนา กล่อมจิต. "รูปแบบการจัดการศึกษาและผยแผ่ศาสนธรรมของวัดในพระพุทธศาสนา :กรณีศึกษา วัดบำบ้านค้อ อำเภอเมืองผิง จังหวัดอุดรธานี". รายงานการวิจัย.กรุงเทพมหานคร : สำนักงานเลขาธิการการศึกษา, ๒๕๔๖.
เฉียบ ไทยยิ่ง. "ปีจจัยที่ส่ผลต่อความสำเร็จของเจ้าอาวาสในการพัฒนาวัดให้เป็นศูนย์กลางชุมชน : กรณีศึกษา ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ". รายงานการวิจัย. แผนงาน :กรมการศาสนา, ๒๕๔๑.
บุญช่วย จันทร์เฮ้า. "พฤติกรมการบริหารของเจ้าอาวาสที่ส่ผลต่อการปฏิบัติงานวัด ในเขตการปกครองคณะสงฆ์จังหวัดกรุงเทพมหานคร". วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๔.
บุญศรี พานะจิตต์และคณะ. "ความสำเร็จในการปฏิบัติภารกิจของวัด : กรณีศึกษาวัดชลประทานรังสฤษฏ์ อำเภอปากกร็ด จังหวัดนนทบุรี". รายงานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร :สำนักงานคณะกรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๕
๒. ภาษาอังกฤษ
Drake. Thelbert L & Roe. William. H. The Principalship. New York : Macmillan, 1986.
Fiedler. A theory of leadership effectiveness. New York : McGraw-Hill, 1967.
Katz. Robert L. Skills of an Effective Administration. Harvard Business Review ๓o.1995.ZJanuary-February)
Normand L. Frigon. Sr.& Harry K. Jackson. Jr. The Leader : Developing the Skills &
Personal Qualities You Need to Lead Effectively. New York :American Management Association, 1996.
Ordway Tead. The Art of Leadership. New York : McGraw Hill Book Company.Inc., 1956.
Ralph M. Stogdill. Handbook of Leadership : A Survey of Theory and Research.New York : Free Press, 1974.
William F Reddin. Managenal Effectiveness . New York : Mc Graw - Hall, 1970.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2018 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น