ความคิดเห็นของพนักงานบริษัทศรีไทย ซุปเปอร์แวร์จำกัด (มหาชน) ต่อการนำระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐ : ๒๐๐๐ มาใช้ในองค์กร
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความคิดเห็นของพนักงานบริษัท ศรีไทยซุปเปอร์แวร์ จำกัด (มหาชน) ต่อการนำระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : ๒๐๐๐ มาใช้ในองค์การกลุ่ม ตัวอย่างที่ใช่ในการวิจัย คือ พนักงานบริษัท ศรีไทยซุปเปอร์แวร์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นพนักงานที่มี ความรับผิดชอบปฏิบัติงานอยู่ในเขต (Scope) ของระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : ๒๐๐๐ โดยใช้ แบสบลามเป็นครื่องมือใการเก็บเกี่ยวข้อมูล จำนวน ๘ คน สถิติที่ไซในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่ำร้อยล ค่เฉลี่ย ค่เบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแตกต่งด้วยการทดสอบที่ ( t test ) สำหรับกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) สำหรับกลุ่มตัวอย่างที่มากคว่สองกลุ การวิคราะห์ความแตกต่างเป็นรายคู่ใช้ Least Significant Difference (LSD) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดย ไควสแควร์ ( Chi-Square test ) ใช้หาค่า ความสัมพันธ์ของ ตัวแปรสองตัวที่เป็นอิสระต่อกัน การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติใช้โปรแกรม ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุ ๒ - ๓๐ปีมีสถานภาพโสด การศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษา มีระยะเวลาการทำงานกับบริษัทต่ำ กว่า ๕ ปี โดยเลี่ยมีะยะวลการทำงานกับบริษัทเท่กับ ๒ ปี ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามมีระยะเวลา การทำงานที่เกี่ยวข้องกับระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : 6๐๐๐๓ - ๕ ปี โดยเฉลี่ยมีระยะเวลาการ ทำงานเกี่ยวข้องกับระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : ๒๐๐๐ เป็นเวลา ๓ ปี ส่วนใหญ่เป็นพนักงาน มากกว่าพนักงานพดับบังคับบัญชา พนักงานขึ้นไป โดยมีรายได้ ๕,๐๐๐ - ๑๐,๐๐๐ บาท สำหรับข้อมูลความรู้เกี่ยวกับระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : ๒๐๐๐ ผู้ตอบแบบสอบถาม โดยส่วนใหญ่ มีความคิดเห็น ไม่เห็นด้วยกับระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : 6๐๐๐ คือการจัดทำระบบ คุณภาพ ร ๙ㆀㆀ : ๒o๐๐ ในบริษัทฯ เป็นการใช้งบประมาณโดยไม่จำเป็น ส่วนผู้ตอบ
แบบสอบถามมีความคิดเห็น เห็นด้วยกับระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : ๒๐๐๐ คือ พนักงานทุกคน ต้องทราบถึงนโยบายคุณภาพของบริษัทฯโดยข้อมูลการสื่อสารภายในองค์กรเกี่ยวกับระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : ๒๐๐๐ ผู้ตอบแบสอบถามส่วนใหญ่ ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐
: ๒๐๐๐ จกกาฝึกอบม ส่วนความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : ๒๐๐๐ มา ใช้ในองค์กร ด้านประโยชน์ของระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : ๒๐๐๐ ในภาพรวมในระดับเห็นด้วย สำเร็จรูป สำหรับด้านการปฏิบัติตมระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐ : ๒๐๐๐ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็น
โดยรวม มีความไม่แนใจ นอกจากนั้น ยังพบว่า ๑. อายุ ระยะเวลาการทำงานกับบริษัทฯ ตำแหน่ง ที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็น เกี่ยวกับการนำระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : ๒๐๐๐ มาใช่ในองค์กรไม่แตกต่างกัน
๒. ระยะเวลาการทำงานที่เกี่ยวข้องกับระบบคุณภาพ ISO๙๐๐๐ : ๒๐๐๐ ที แตกต่างกัน มีความคิดเห็นกี่ยวกับการนำระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : ๒๐๐๐ มาใช้ในองค์กร ด้านการปฏิบัติตามระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : ๒๐๐๐ ต่อองค์กรโดยไม่แตกต่างกัน สำหรับด้าน ประโยชน์ของระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : ๒๐๐ ต่อองค์กรโดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับ .๐๕
๓. ปัจจัยด้านความรู้เกี่ยวกับ ISO ๙๐๐๐ : ๒๐๐ ปัจจัยด้านข้อมูลการสื่อสาร ภายในองค์กรเกี่ยวกับระบบคุณภาพ ISO ๙๐๐๐ : 6๐๐๐ มีความสัมพันธ์กับความคิตเห็นเกี่ยวกับ การนำระบบคุณภาพ IรO ๙๐๐ : ๒๐๐๐ มาใช้ในองค์ก ด้านประโยชน์ของระบบคุณภาพและ ด้านการปฏิบัติตามระบบ ISO ๙๐๐ : ๒๐๐๐ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .๐ด และ ๐๕ ตามลำดับ
References
จักรพันธ์ ศรีมฏ ความคิดเห็นที่มีตการจัดการเรียนรู้สาระพลศึกษาของนักเรียน ช่วงชั้นที่ ๓ ในเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ การศึกษา ๒๕๕ด. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาพลศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,๒๕๕๒.
จำลอง งามขำ. ศึกษความคิดเห็นในการเลือกใช้บริการอินเตอร์เน็ตของลูกค้า สำนักงานบริการลูกค้า กสท เขตตะวันออก, วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต.สาขาวิทยการบริหารทั่วไป. วิทยลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, ๒๕๕๐.
ธงชัย อมรศรีจิรทร. "ISO ๙๐๐๐ คืออะไร". Industrial, ๑๒ (สิงหาคม - กันยายน ๒๕๓๘) : ๑๑๗ - ๑๑๘.
ธิดารัตน์ ปลื้มจิตต์. ศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรต่อการบริการซ่อมบำรุงและดูแลรักษา คอมพิวเตอร์ที่ให้บริการในตึกผู้ป่วยนอกโรงพยบาลศิริราช. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สขาวิชาธุรกิจศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๕๑.
บรรจง จันทมาศ. ระบบบริหารงนคุณภาพ รO ๙๐๐๐. กรุงเทพมหานคร : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย - ญี่ปุ่น), ๒๕๔๑.
บุญเลิศ ชีพนรัตน์. ศึกษาความคิดห็นในการใช้ระบบฐานข้อมูลสถานือนามัยของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ส้กัตสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์อุตสหกรรมมหาบัณฑิต. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศคณะครุศาสตร์อุตสหกรรมและเทคโนโลยี. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ๒๕๕๓.
พิณทิพย์ กลั่นไพรี. กษาความคิดเห็นของจ้าหน้ที่ตำรวจสถานีตำรวจตำรวจภูธรเมืองหนองคายที่มีต่อระบบสารสนเทศและความต้องการการใช้ระบบสารสนทศของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรเมืองหนองคาย. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ๒๕๕๓.
วิระวัฒน์ นอ่าง ความคิดเห็นในการใช้งานระบบงานคอมพิวเตอร์ของพนักงานธนาคารออมสินสาขาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์ อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ๒๕๕๓.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2018 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น