จริต ๖ กับการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นความพยายามในการที่จะใช้กรอบแนวคิดของพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ ทำความข้าใจพฤติกรม บุคลิกลักษณะ และอุปนิสัยส่วนบุคคล เพื่อนำไปสู่การเข้าใจกันและ มีปฏิสัมพันธ์ที่เหมาะสมต่กัน จนสามารถก่อเกิดประโยชน์ที่พึงประสงค์แก่องค์กรได้ ซึ่งพระพุทธเจ้า
ทรงแบ่งบุดลึกภาพของมนุษย์โดยยึดจริตเป็นหลักได้ ๖ ประเภท คือ ราคจริต โทสจริต โมหจริต ศรัทธาจริต พุทธิจริต และวิตกจริต ซึการอยู่ร่วมกันในสังคมจำเป็นต้องอาศัยการเข้าใจกันโดยใช้ กรอบแนวคิดต่งๆ มากมาก ไม่ว่าจะเป็นกรอบทางด้านศาสนา จิตวิทยา สังคมวิทยา เป็นต้น กรอบที่ ยกมาข้างต้นในบทความนี้ก็เป็นอีกมุมมองหนึ่งในการเข้าใจ ปฏิสัมพันธ์ และสมานฉันท์ อย่างมี ความสุข ทั้งตัวเรเองและคนรอบข้าง บางครั้งกรเข้าใจมนุษย์และรู้จักปรับเปลี่ยนสิ่งต่างๆ ให้สอด รับกับ "กลุ่มเป้หมาย" ที่เรต้องการ สามารถสร้งความยิ่งใหญ่อลังการขึ้นมาได้ เช่น กรณีที่วัดใน
พุทธศาสนาแห่งหนึ่งใช้ความป็นระเบียบ สะอาด พิถีพิกัน จริต ๖ จึงเป็นอีกรอบหนึ่งในการรู้จักคน เข้าใจคน อยู่กับคน และใช้คนให้ประโยชน์ทั้แก่ตนเอง องค์กร สังคม และประเทศชาติได้
References
พระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย (ฉบับหลวง). เล่มที่ ๒๙ : ขุททกนิกาย มหานิทเทศ และ เล่มที่ ๓๐ : ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส. กรุงเทพมหานคร : กรมการศาสนา, ๒๕ด๔.
พระธรรมฏก (ประยุทธ์ ปยุตโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖.
สมพร สุทัศนย์. ม.ร.ว. มนุษย์สัมพันธ์ กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๘.
สมลักษณ์ วงษ์รัตน์. รอยทางที่สร้างคน. กรุงเทพมหานคร : บริษัทอมรินทร์ บุ๊คเซ็นเตอร์ จำกัด,๒๕๕o.
อนุสร จันทพันธ์ และบุญชัย โกศลธนากุล จริต ๖ : ศาสตร์ในการอ่านใจคน. กรุงเทพมหานคร :อมรินทร์พริ้นตั้งแนด์พับลิชซึ่ง, ๒๕๔๖.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2018 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น