สัมฤทธิ์ผลการบริหารจัดการศึกษาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อําเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี

ผู้แต่ง

  • ศิริอร สิมอุตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาระดับสัมฤทธิ์ผลการบริหารจัดการศึกษาใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี จำแนกตามปังจัยส่วนบุคคลได้แก่วุฒิการศึกษา อาชีพ เพศ และอายุมีผลต่อระดับสัมฤทธิ์ผลการบริหารจัดการศึกษาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒)

ศึกษาระดับสัมฤทผลการบริหารจัดการศึกษาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอมวกเหล็ก จังหวัด สระบุรี การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิปริมาณที่เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน ๒๒๐ คนที่ เลือกจากประชากรจำนวน ๘๐ คนที่เป็นผู้ปกครองเด็กเล็ก และเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้

แบบสอบถามที่ระดับความเชื่อมั่น o.๗๓ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่ร้อยละค่เฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบสมมุติฐานทางสถิติด้วยค่าที่ (ttest) ค่เอฟ (F-test) และค่าถดถอย พหุคูณ ด้วยวิรี stepwse ๓) ศึษาปัจจัยการบริหารจัตการได้แก่ การสนับสนุนงบประมาณจาก

องค์การบริหารส่วนตำบล คุณภาพครูผู้สอนผู้มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี การเรียนและสิ่ง อำนวยความสะดวกมีผลต่อระดับสัมฤทผลการบริหารจัดการศึกษาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการวิจัยพบว่า

๑) ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ เพศ วุฒิการศึกษา และอาชีพ แตกต่างกันมีผลต่อ ระดับ สัมฤทธิ์ผลการบริหารจัดการศึกษาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี แตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ๕ ยกวน อายุแตกต่างกันมีผลต่อสัมฤทธิ์ผลการบริหารจัดการศึกษา

ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ไม่แตกต่างกัน ๒) ระดับสัมฤทธิ์ผลการบริหารจัดการศึกษาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรีโดยรวมมีค่เฉลี่ยอยู่ในระดับมากโดยพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการสนับสนุน

จาก อบต. มีะดับประสิทธิผลสูงสุด รองลงได้แก่ด้านสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการมีส่วนร่วมของ ผู้ปกครองด้านสัมฤทธิ์ผลของนักเรียนและด้านพึงพอใจในกิจกรรมการบริหารจัดการเรียนการสอน ตามลำตับ

๓) ปัจจัยการบริหารจัดการที่มีผลต่อระดับสัมฤทธิ์ผลการบริหารจัดการศึกษาในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่ ปัจจัยที่มีผลต่อสัมฤทธิ์ผลการ บริหารจัดการศึกษาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีผลในระดับสูงสุด ในเรียงจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้าน

การบริหารจัดการเรียนการสอน รองลมได้แก่ด้านคุณภาพครูผู้สอน และผู้มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีตมลำดับ โดยทั้ง ๓ ปัจจัยนี้สามารถร่วมกันอธิบายความผันแปรของปัจจัยการบริหารจัดการการศึกษในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ได้ร้อยละ ๘๑.๘๐

(R* = .๘๑๘)

References

กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. การจัดการศึกษาท้องถิ่นตามกฎหมายกำหนดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร, ๒๕๔๗.
กรช กรชาติ ความพึพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดกาหสินธุ์ ที่ตั้งอยู่นอกเขตเทศบาล.วิทยานิพนธ์ปริญญ การศึกษามหาบัณฑิต สขาวิชการวิจัยการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ๒๕๔๔.
กุลยา ตันติผลชีวะ. การเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียนะ ๓๕ พวบ.กรุงเทพฯ: โชติสุขการพิมพ. ๒๕๔๒.
ชุติมา ปานดำการพัฒนาโปรแกมส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาการเรียนการสอนของครูอนุบาลด้วยวิธีการเรียนรู้เชิปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิตจุฬาลกรณ์มหาวิทยาลัย. ๒๕๔๒.
กรพร สุทธิรม. การศึกษาความสามารถในการรับรู้และข้ใจทัศนะของผู้อื่นของเด็กปฐมวัยที่ผู้ปกครองจัดกิจกรมทานเพื่อส่งเสริมการคลายการยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง.ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิตมหาวิทยาสัยศรีนครืนทรวิโรฒประสานมิตร.๒๕๓๔.
ทศพร เพ็งไรสง. "กิจกรรมที่พัฒนาทักษะแก้ปัญหาระดับชั้นอนุบาลในโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอชุมพวง."วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ๒๕๔๕.
ลัยพงศ์ พันธุ์พิมพ์. การเรียบเทียบความพึพอใจของผู้ปกครองนักเรียนกี่ยวกับการดำเนินงานของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจ้งหวัดอ่างทองปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.๒๕๔๓.
นภเนตร ธรรมบวร. หลักสูตรเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยในประมวลสาระชุดวิชาการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยหน่วยที่ ต. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.๒๕๔๙.
นิตยา คชภักดี. ชั้นตอนการพัฒนาของเด็กปฐมวัยตั้งแต่ปฏิสนธิถึง ๕ ปี.กรุงเทพ": โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. ๒๕๔๓.
ปริญญ จเรรัชต์ความพึงพอใจใการปฏิบัติงานของเจ้าหน้ำที่ทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลเมืองในกลุ่มภาคกลาง. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญโทมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.๒๕๔๖.
ปัญญา ยางนอก. การศึกษากระบวนการจัดประสบการณ์ตามหลักสูตรก่อนประถมศึกษาพุทธศักราช ๒๕๔๐ :กรณีศึกษาโรงเรียนอนุบาลอำเภอสังกัดสำนักงานการประถศึกษาจังหวัดบุรีรัมย์. วิทยนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันราชภัฏบุรีรัมย์.๒๕๔๔.
อรุณี หรดาล. แนวการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยในประมวลสาระชุดวิชาการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยหน่วยที่ ๒. (หน้า ๑๒) นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.๒๕๔๘.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2014-08-30

How to Cite

สิมอุตร ศ. (2014). สัมฤทธิ์ผลการบริหารจัดการศึกษาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อําเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี . วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 3(2), 154–166. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245232