การบริหารเพื่อการพัฒนาสมาธิตามแนวพระพุทธศาสนา
บทคัดย่อ
บทความวิชาการบับนี้งที่จะชี้ให้เห็นถึงการนำหลักสมาธิทางพระพุทธศาสนามา ประยุกตีใช้ในการบริหารเพื่พัฒนาบุคลกรภาครัฐ และประชาชนทั่วไป พบว่า การบริหารเพื่อการ พัฒนาสมาธิตามแนวพระพุทรศสนามีคุณค่ต่อตนเอง ต่อสังคม องค์กร รวมทั้งต่อประเทศชาติ ที
ภาครัฐหรือผู้นำการบริหารจะนำไปกำหนดเป็นนโยบายเร่งด่วน และการสร้างแผนการปฏิบัติ รวมทัการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการฝึกสมาธิเพื่อหน่วยงานราชการ องค์กรท้องถิ่น และองค์กรอื่น ๆ ได้นำไปปฏิบัติให้กิดการพัฒนาคน และเพื่อการบรรลุเป้หมายการพัฒนาชาติ ซึ่งเชื่อแน่ว่า การ
พัฒนาสมาธินี้สมารถจะลดปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมได้จริง และสร้างคนให้เป็นมนุษย์ สร้างมนุษย์ให้ เป็นเทวดา สร้างเทวดาให้ป็นพรหม และสร้างพรหมให้เป็นพระอริยะเจ้า ซึ่งหมายถึง ศักยภาพของ คนในประเทศที่จะพัฒนาอะไรก็ได้ ในเมื่อคนมีสมาธิที่สมบูรณ์
References
มหาจุฬาลงคณราชวิทยาลัย พระไตรปิฎกภาษไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราขวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
กวี รักษ์ชนและคณะ. การบริหารการพัฒนา. พิมพ์ครั้ง ๙. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๓๘.
พจนานุกมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.b๕6๕. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, ๒๕๒๕.
พระธรรมโกศจารย์ (พุทธทาสภิกข) สมาธิและวิปัสสนาตามธรรมชาติ. พิมพ์ครั้งที่ ๕.กรุงเทพมหานคร : สุขภาพใจ, ๒๕๔๙.
พระธรรมวิสุทธิกวี (พิจิตร ฐิตวณโณ). การบริหารจิต. พิมพ์ครั้งที่ ๘ กรุงเทพมหานคร : เซเว่นพริ้น ติ้ง กรุ๊ป ๒๕๔๖.
การพัฒนาจิต. พิมพ์ครั้งที่ ๘ กรุงเทพมหานคร : สร้างสรรคบุ๊คส์, ๒๕๔๙.
พระพรหมคุณาภณ (ประยุทธิ์ ปยุตโต) พุทธธรรม. กรุงเทพมหานคร : โอ เอ พริ้นติ้นเฮ้าส์, ๒๕๕๕.
พจนานุกรมพุทธศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๑๘.
พระธรมธีราชมหามุนี (ชดกญาณสิทธิ ป.ธ. ). หลักปฏิบัติสมถะวิปัสสนากรรมฐาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๑),
________.คำถาม-คำตอบ เรื่องวิปัสสนากรรมฐาน. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙.
สุจิตรา อ่อนค้อม การฝึกสมาธิ. พิมพ์ครั้งที่ ๑๐ กรุงเทพมหานคร : ดอกหญ้าครัป, ๒๕๔๙.
วิรัช วิรัชนิภาวรณ การบริหารการพัฒนา : แนวคิด ความหมาย ความสำคัญ และตัวแบบการประยุกต์, (ออนไลน์). http://www.wiruch.com ( ๒๙ มิ.ย.๕๕).
________. การบริหารการพัฒนาชนบทเปรียบเทียบ : การบริหารการพัฒนาชนบท ตามแนวทางแผ่นดินธรม แผ่นดินทอง ความจำเป็นพื้นฐาน และโครงการอีสานเขียว. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, ๒๕๓๔.
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภหาเถร). คัมภีร์วิสุทธิมรรค. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖.
เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ พุทธวิปัสสนา. พระนคร : รัชดารมภ์การพิมพ์, ๒๕o๕.
D. Roland D. Weerasuria. The path of freedom-Vimuttimagga. Balcombe,Balcombe Place, Colombo s, Sri lanka ด๙๗๗.
พระอุปติสสเถระ รจนา.คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย แปลจากฉบับภาษาอังกฤษของพระเอฮารา พระโสมถระและพระ เขนันทเถระ. วิมุตติมรรค. กรุงเทพมหานคร :กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2018 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น