ผลของโปรแกรมกิจกรมแนะแนว เพื่อการตั้งเป้าหมายทางการศึกษาและอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนหันดาพิทยาคม จังหวัดชัยนาท

ผู้แต่ง

  • นาฏศิลป์ คชประเสริฐ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกิจกรรมแนะแนว เพื่อการตั้งเป้าหมายทางการศึกษาและอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนหันดาพิทยาคม จังหวัดชัยนาท ก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกมกิจกรรมแนะแนว ฯ เพื่อเปรียบเทียบผลการ

ตั้งเป้าหมายทางการศึกษาและอาชีพของนักเรียนที่เข้าร่วมโปรแกรมกิจกรรมแนะแนว เพื่อการตั้งเป้าหมายทาการศึกษาและอาชีพ และนักเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมโปรแกรมกิจกรรมแนะแนว ฯ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนหันดาพิทยาคม

จังหวัดชัยนาท จำนวน ด๘๔ ค ผู้วิจัยให้นักเรียนทำแบบวัดการตั้งเป้หมายทางการศึกษาและอาชีพ จำนวน ด๖๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๘ แล้วคัดเลือกโดยการสุ่มแบบกลุ่มจากห้องที่มีคะแนน จากแบบวัดการตั้งป้หมายทางการศึกษาและอาชีพไม่แตกต่างกันมา ๒ ห้องเรียน แล้วสุ่มเข้ากลุ่ม

ให้ห้องหนึ่งเป็นกลุ่มทดลอง และอีกห้องหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุม ผลการวิจัยพบว่า ๑) ภายหลังการทดลองนักเรียนกลคลองมีคะแนนจกแบบวัดการตั้งเป้าหมายทางการศึกษาและอาชีพสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมกิจกรรมแนะแนว ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0๕ ๒) ภายหลังการทดลอง

นักเรียนกลุ่มทดลองมีดแนนจกแบบวัดการตั้งเป้าหมายทางการศึกษาและอาชีพสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๕ ๓) นักเรียนกลุ่มทดลองมีความเห็นว่าการเข้าร่วมโปรแกรมกิกรรมแนะแนว ฯ ช่วยให้นักเรียนมีการพัฒนาการตั้งเป้าหมายทางการศึกษาและอาชีพ

 

References

นันทา สู้รักษา. รูปแบบชีวิตและการให้คำปรึกษาอาชีพ. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พาสนา นิยมบัตรเจริญ. ผลของโปรแกรมกิจกรรมกลุ่ม เพื่อพัฒนาการตั้งเป้าหมายทางการศึกษาและอาชีพของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนโพธิสารพิทยากร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว) สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ๒๕ ๕๑.
ศรีเรือน แก้วกังวาล. ทฤษฎีจิตวิทยาบุคลิกภาพ. พิมพ์ครั้งที่ ด๖. กรุงเทพมหานคร: หมอชาวบ้าน. ๒๕(๕๓.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ชาติ. แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๕๙).กรุงเทพมหานคระ บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด. ๒๕๔๕.
อภิชาติ เศรณีวิจัยกิจการ. แนะแนวการศึกษาและอาชีพ : นโยบายและแนวทางดำเนินงาน.กรุงเทพมหานคร: สถาบันการแปลหนังสือ กรมวิชาการ. ๒๕๔๕. แปลจาก ดี สจ๊วต
คองเกอร์. ๑๙๙๔. Policies and Guidelines for Educational and VocationalGuidance. Paris: Scientific and Cultural Organization (UNESCO).
อาภรณ์ ภูวิทยพันธุ์. Human Resource Management and Development Case Study. กรุงเทพมหานคร: เอช อาร์ เซ็นเตอร์. ๒๕๔๙.
Locke, E. A and Latham, G.P. A Theory of Goal Setting & Task Performance. New Jersey: Prentice Hall. 1990.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2014-04-30

How to Cite

คชประเสริฐ น. (2014). ผลของโปรแกรมกิจกรมแนะแนว เพื่อการตั้งเป้าหมายทางการศึกษาและอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนหันดาพิทยาคม จังหวัดชัยนาท. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 3(1), 153–161. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/245205