หลักการของบัณฑิตที่ดี

ผู้แต่ง

  • พระเมธาวินัยรส

คำสำคัญ:

ความรู้; จริยธรรม; บัณฑิต

บทคัดย่อ

บทความเรื่อง “หลักการของบัณฑิตที่ดี” นี้จะแสดงถึงหลักการของบัณฑิตที่ดีอย่างย่อๆ ไว้ ๑๕ ประการ คือ จุดมุ่งหมายในการศึกษาของพระสงฆ์ ความหมายของคำว่าบัณฑิต ลักษณะของบัณฑิตที่ดี บัณฑิตกับการมีจริยธรรม บัณฑิตกับการมีความรู้ บัณฑิตกับการมีความคิด ลักษณะของบัณฑิตที่ดี บัณฑิต กับการมีจริยธรรม บัณฑิตกับการมีความรู้ บัณฑิตกับการมีความคิด บัณฑิตกับการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นใน สังคม บัณฑิตกับการสื่อสารให้คนอื่นเข้าใจ ความเป็นสังคมชุมชนวิชาการ บัณฑิตกับการสมาคมในสังคม ชุมชนวิชาการ การสั่งสอนและอบรมบัณฑิตที่ดีควรทำอย่างไร การคิด พูด อ่าน เขียนของบัณฑิตและการทำตนให้เป็นที่ยอมรับในสังคมชุมชนวิชาการ บัณฑิตกับการแสวงหาความรู้ในปัจจุบัน บัณฑิตกับการสร้างแรงบันดาลใจในการศึกษา และตัวอย่างของบัณฑิตที่ดีในสังคมไทยวัตถุประสงค์ของบทความนี้ คือ เพื่อแนะนำการดำเนินชีวิตที่ถูกต้องให้แก่บัณฑิตหรือคนดีในฐานะที่เป็นนักศึกษาหรือผู้ใคร่ต่อการศึกษา

References

ประธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). “รวมบทความวิทยานิพนธ์ ระดับพุทธศาสตรมหาบัณฑิต และพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต”. กรุงเทพมหานคร :หอไตรการพิมพ์, ๒๕๕๓.
ประธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต).“หลักการและวิธีการเทศน์”. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร :หจก. สามลดา, ๒๕๕๕.มหามกุฏราชวิทยาลัย. มูลนิธิ.พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๒๕.
สม สุจีรา. “ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น II”. พิมพ์ครั้งที่ ๒๑. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์ธรรมะ, ๒๕๕๔.

เผยแพร่แล้ว

2020-07-10

How to Cite

พระเมธาวินัยรส. (2020). หลักการของบัณฑิตที่ดี. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 1(1), 30–36. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/244763