ผู้นำเชิงพุทธกับการพัฒนาประชาธิปไตย

ผู้แต่ง

  • อภิญญา ฉัตรช่อฟ้า มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำ, ผู้นำเชิงพุทธ, การพัฒนาประชาธิปไตย

บทคัดย่อ

การพัฒนาประชาธิปไตยที่ผ่านมาส่งผลต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนในสังคมนั้น ประเทศไทยก็ได้ตระหนักมาตลอดถึงความสำคัญของการพัฒนาประชาธิปไตย ว่าจะทำอย่างไรให้มีเสถียรภาพ มีความสงบเรียบร้อย ไม่มีความขัดแย้งเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม ตามข้อเท็จจริงของการปกครองระบอบประชาธิปไตย จะให้ความสำคัญกับคำว่า เสรีภาพ ความเสมอภาค และความเท่าเทียม คือ ไม่มีการแบ่งชนชั้น ซึ่งทุกสังคมให้การยอมรับและให้ความสำคัญ ทั้งนี้การพัฒนาประชาธิปไตยจะเห็นว่าจุดมุ่งเน้นจริง ๆ ของการพัฒนาก็คือการเริ่มต้นจากการพัฒนาระดับปัจเจกบุคคลไปก่อนจากนั้นจึงเริ่มไปสู่การพัฒนาในระดับชุมชน สังคมและประเทศชาติ ดังนั้น การนำหลักทางพระพุทธศาสนามาพัฒนาประชาธิปไตยผู้เขียนเห็นว่าควรเริ่มต้นจากการพัฒนาที่ตัวบุคคลผู้นำก่อน โดยการนำหลักพุทธธรรมมาประยุกต์ใช้ ได้แก่ หลักสัปปุริสธรรม 7 มีการกล่าวถึงคุณสมบัติสำหรับสัปปุริสชนหรือคนดีหรือธรรมของผู้ดี ซึ่งเป็นแนวทางที่ดีที่ควรนำมาปฏิบัติ เป็นธรรมที่ทำให้ผู้นำเป็นผู้นำสมบูรณ์แบบ ให้สอดคล้องกับความเป็นระบอบประชาธิปไตย สามารถนำมาสังเคราะห์สู่กระบวนการบูรณาการให้สอดคล้องกับผู้นำในระบอบประชาธิปไตย

References

เกียรติศักดิ์ สุขเหลือง. (2561). กลยุทธ์การบริหารองค์กรสงฆ์ที่เข้มแข็งในยุคโลกาภิวัตน์. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7(1), 99-115.

ชัยอนันท์ สมุทรวานิช. (2538). พุทธศาสนากับการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

เนตรพัณณา ยาวิราช. (2556). การจัดการสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: บริษัททริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกัด.

พงศธร ไชยเสน. (2563). การพัฒนาระบอบประชาธิปไตยให้มั่นคงและยั่งยืน สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ. สืบค้น 20 พฤษภาคม 2563, จาก http://www.constitutionalcourt.or.th/occ_web/ewt_dl_link.php?nid=1457

พระครูสิริจันทนิวิฐ (บุญจันทร์ เขมกาโม). (2549). ภาวะผู้นำเชิงพุทธ. กรุงเทพฯ: นิติธรรมการพิมพ์.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีบริหาร (พิมพ์พิเศษ 5 ธันวาคม 2549). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). สลายความขัดแย้ง: นิติศาสตร์-รัฐศาสตร์-เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ บริษัทสหธรรมิก จำกัด.

________. (2543). กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคนไปสู่ประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). ภาวะผู้นำ: ความสำคัญต่อการพัฒนาคน พัฒนาประเทศ. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.

พูนลาภ แก้วแจ่มศรี. (2546). การจัดการเชิงพุทธ : การสำรวจปรัชญาและแนวคิดสำหรับการจัดการสมัยใหม่ (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ยงยุทธ เกษสาคร. (2554). ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม. กรุงเทพฯ: เอสแอนด์ เจ กราฟฟิค.

สัญญา เคณาภูมิ. (2558). วิถีประชาธิปไตยของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 5(2), 195-196.

สาโรจน์ โอพิทักษ์ชีวิน. (2554). การจัดการและพฤติกรรมองค์กร: เพื่อสร้างและรักษาความได้เปรียบเชิงแข่งขันไว้ให้ยั่งยืนในโกลบอลไลเซชั่น. กรุงเทพฯ: ซีวีแอลการพิมพ์จำกัด.

สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2550). ภาวะความเป็นผู้นำ. กรุงเทพฯ: ส. เอเชียเพรส 1989 จำกัด.

สุริยา รักษาเมือง. (2561). ธรรมาธิปไตย : อุดมคติเพื่อการสร้างความสมดุลแห่งอำนาจในการปกครองรัฐ. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7(4), 150-157.

Burdy, R. J. (1967). Fundermental of Leadership Reading. Masschusetts Addison: Wesley Publishing Co.

Cohen. W. C. (1971). Democracy. New York: The Free Press.

Jones, G., & George, G. M. (2009). Contemporary Management (5th ed.). New York: McGraw-Hill.

Normond, L.F., & Harry K. J. (1996). The Leader : Developing the Skill & Personal Quantities You Need to Lead Effectively. New York: American Management Association.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-23

How to Cite

ฉัตรช่อฟ้า อ. . . (2020). ผู้นำเชิงพุทธกับการพัฒนาประชาธิปไตย. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(4), 256–268. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/243269