บทบาทหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ที่มีต่อการพัฒนาชุมชน

ผู้แต่ง

  • เขมิกา ทองเรือง

คำสำคัญ:

บทบาทหน้าที่ของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน , การพัฒนาชุมชน

บทคัดย่อ

บทบาท หมายถึง พฤติกรรมของคนที่เกิดขึ้นโดยตำแหน่งหน้าที่รับผิดชอบ จะโดยตั้งใจหรือถูกบังคับ แต่เป็นพฤติกรรมเเอบแฝง พฤติกรรมของคนแต่ละคนจะแสดงบทบาทได้หลายอย่างในเวลาเดียวกันเราไม่สามารถแสดงได้หลายบทบาท คนที่อยู่ในแต่ละสังคมย่อมแตกต่างกันตามปกติเมื่อบุคคลมีสถานภาพใดย่อมแสดงบทบาทให้สอดคล้องกับที่สังคมคาดหวัง สถานภาพเป็นโครงสร้างของสังคม ดังนั้นบุคคลควรเข้าใจในบทบาทของตนเป็นอย่างดีโดยบทบาทที่เป็นภาระหน้าที่หรือรูปแบบของพฤติกรรมที่บุคคลต้องกระทาเมื่อดารงสถานภาพใดสถานภาพหนึ่งหรือตาแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ซึ่งการกระทาหรือรูปแบบพฤติกรรมดังกล่าว เป็นผลมาจากความหวังของบุคคลอื่นๆ ในสังคม รวมทั้งความคิดเห็นของผู้ดารงตำแหน่ง หรือเป็นการปฏิบัติตามหน้าที่และสิทธิของตนตามสถานภาพในสังคม (สุมาลี รามมาก 2552 : 39). บทความเรื่อง บทบาทหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ที่มีต่อการพัฒนาชุมชน นี้มุ่งอธิบายถึง 1. ความหมายของบทบาท 2. ความสำคัญเกี่ยวกับบทบาท 3.ความหมายของการพัฒนาชุมชน 4. หลักการพัฒนาชุมชน 5. แนวทางการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้านที่มีต่อการพัฒนาชุมชน และ 6. ผลการศึกษา

References

กรมการปกครอง. 2547 คู่มือวิทยากรผู้ประสานงานการส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนกรุงเทพฯ : กรมการปกครอง
กังวาลย์ บัวจีบ. 2544. บทบาทของกานัน ผู้ใหญ่บ้านกับสมาชิกองค์การบริหารส่วน ตำบล :ศึกษากรณีเฉพาะองค์การบริหารส่วนตาบลลำโพ อาเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคาแหง
คฑาวุธ พรหมายน. 2545. ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการตารวจ กองตรวจคนเข้าเมือง : ศึกษาเฉพาะกรณีข้าราชการตำรวจฝ่าย1 ฝ่าย2. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขารัฐศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยรามคาแหง
ทิตยา วรรณชฏ และกองวิจัยและประเมินผล กรมการพัฒนาชุมชน.2510. พัฒนาการ : ความคาดหวังบทบาทของพัฒนากร คณะกรรมการหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่ระดับตำบล.กรุงเทพฯ : ส่วนท้องถิ่น
พัทยา สายหู. 2529. กลไกของสังคม.กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย
ไพบูลย์ ช่างเรียน. 2525. การบริหารงานพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : แพร่วิทยา.
ไพรัตน์ เดชะรินทร์. 2542. ทฤษฎีองค์กร (พิมพ์ครั้งที่ 4) กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช
ภิญโญ สาธร. 2521. หลักบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์และจัดทาปกเจริญผล.
ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. 2542. ปรัชญา แนวคิด และอุดมการณ์ในการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : กรมการ
พัฒนาชุมชน.
ราชบัณฑิตยสถาน. 2525 พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญ
ทัศน์
ธนพร คล้ายกัน.2541 บทบาทคณะกรรมการพัฒนาสตรีตำบลกับการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ชุมชน : กรุงเทพฯ ศูนย์ช่วยเหลือทางวิชาการพัฒนาชุมชนเขต 1
แสวง รัตนมงคลมาศ. 2534. ทฤษฏีสังคมศาสตร์. กรุงเทพ
ชุดา จิตพิทักษ์. 2528. พฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้น (ครั้งที่พิมพ์ 2). กรุงเทพฯ: สารมวลชน.
โภคิน พลกุล. 2547 วันกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ประจาปี 2547. มติชนสุด สัปดาห์ 24, 8.
สุพัตรา สุภาพ. 2537. สังคมวิทยา.กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิช
สุมาลี รามมาก.2552. บทบาทของผู้ใหญ่บ้านที่มีต่อการพัฒนาชุมชนในตำบลท่าบอน. สงขลา :
สุภา สกุลเงิน. 2545 ประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หลังการ
จัดตรัง องค์การบริหารส่วนตำบล ในทัศนะของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน : กรณึศีกษา
เฉพาะกรณี อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (รัฐศาสตร์).
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาแหง
สาราญ ตันเรืองศรี. 2530. บทบาทที่เป็นจริงและบทบาทที่คาดหวังของสมาชิกอาสารักษา
ดินแดนและกำนัน ผู้ใหญ่บ้านในจังหวัดปราจีนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญา ศิลปศาสตรม
หาบัณฑิต สาขาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุธีร์ บริรักษ์. 2544. พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช 2457 แก้ไข
เพิ่มเติม ถึง ปัจจุบัน. (2547). กรงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อาสารักษาดินแคน
อานนท์ อาภาภิรมย์.2516. สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ : แพร่วิทยา
Berlo, D. K.1966 .The process of communication. New York : Holt, Rinehart and Winston
Cohen, E. 1979. A Phenomenology of Tourist Experience, Sociology
Krech, David ; Crutchfield, Rechad S. ; and Pallachey, Egerton L. 1962. Individual in Society. New York : McGraw-Hill.
Linton, Raiph. 1936. The Study of man. New York : D. Apleton Century.
Parsons, Talcott and Shils, Edward A. 1951. Toward a General Theory of Action.New York : Harper and Row.

เผยแพร่แล้ว

2020-05-05

How to Cite

เขมิกา ทองเรือง. (2020). บทบาทหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ที่มีต่อการพัฒนาชุมชน. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(2-05), 701–714. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/242602